Page 26 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 26
รูปแบบคณะกรรมกำร
สิทธิมนุษยชน
รูปแบบผู้ตรวจกำรแผ่นดิน
สถำบันสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
(NHRIs) รูปแบบผสมผสำน
สำมำรถจ�ำแนกอย่ำงกว้ำง ๆ
ได้เป็น 5 รูปแบบ รูปแบบที่เป็นหน่วยงำน
ได้แก่ ให้ค�ำแนะน�ำและค�ำปรึกษำ
รูปแบบอื่น ๆ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนจะประกอบไปด้วยสมาชิก ซี่งเป็นตัวแทนของกลุ่มทางสังคมและทางการเมืองต่าง ๆ
ถึงแม้ว่าสมาชิกในคณะกรรมการจะมาจากกลุ่มที่หลากหลายมาก แต่ก็สามารถจัดตั้งคณะกรรมการขึ้นเพื่อจัดการกับ
ปัญหาเฉพาะอย่างได้ เช่น การเหยียดชนชั้นในรูปแบบต่าง ๆ ในหลายประเทศมีการจัดตั้งสถาบันแห่งชาติพิเศษขึ้นเฉพาะ
เพื่อปกป้องสิทธิของกลุ่มที่เปราะบางเป็นพิเศษ เช่น ชนกลุ่มน้อยทางเชื้อชาติและภาษา ชนพื้นเมือง เด็ก ผู้ลี้ภัยที่มาพร้อมกับ
คนพิการหรือผู้หญิง ในขณะที่หน่วยงานผู้ตรวจการแผ่นดินส่วนใหญ่จะมีอ�านาจตามตัวบุคคลที่ด�ารงต�าแหน่ง
นอกจากนั้น สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติยังมีรูปแบบผสมผสาน (hybrid) และมีบางประเทศที่มีสถาบันแห่งชาติที่
ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับเรื่องสิทธิมนุษยชนมากกว่าหนึ่งสถาบัน บางประเทศรัฐธรรมนูญอาจก�าหนดให้ตั้งคณะกรรมการที่
แตกต่างกันไปตามภูมิภาค ในบางประเทศก็มีหลายสถาบันที่จะมีหน้าที่รับผิดชอบหลักที่แตกต่างกันออกไป เช่น เรื่องสิทธิ
สตรี ความไม่เท่าเทียมกันทางเชื้อชาติ หรือสิทธิเด็กในพื้นที่ที่เกิดกรณีเหล่านี้ขึ้น แต่ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใดก็ตาม จะพบว่า
สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติที่ด�าเนินการทั้งด้านการส่งเสริมและการคุ้มครองอย่างบูรณาการสอดคล้องกัน และท�างาน
ควบคู่สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติอื่น ๆ เป็นการท�างานที่มีประสิทธิภาพสูงสุด รวมถึงสอดคล้องกับหลักการปารีสด้วย
ทั้งนี้ รูปแบบของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติรูปแบบต่าง ๆ มีรายละเอียดดังนี้
25
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ