Page 22 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 22
1. การก�าหนดองค์ประกอบของสถาบันระดับชาติและ
การแต่งตั้งสมาชิกของสถาบัน ไม่ว่าจะด้วยวิธีการเลือกตั้งหรือ องค์ประกอบและ
ด้วยวิธีการอื่นใด จะต้องเป็นกระบวนการที่มีหลักประกันที่จะ
ท�าให้มั่นใจได้ว่าสถาบันจะเป็นตัวแทนที่หลากหลายของพลัง หลักประกันในควำม
ทางสังคม (หรือภาคประชาสังคม) ที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครอง เป็นอิสระและควำม
และส่งเสริมสิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อ�านาจที่จะ หลำกหลำย
ท�าให้สถาบันได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีกับตัวแทนของกลุ่ม
ต่างๆ หรือโดยผ่านการเข้าร่วมของตัวแทนของกลุ่มต่าง ๆ ดังนี้
(ก) องค์การเอกชนที่ท�างานเกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
และการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ สหภาพแรงงาน องค์กร
ด้านสังคมและวิชาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น สมาคมทนายความ
แพทย์ สื่อมวลชน และนักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียง
(ข) กระแสแนวคิดด้านปรัชญาหรือศาสนา
(ค) มหาวิทยาลัยและผู้เชี่ยวชาญที่มีคุณสมบัติเหมาะสม
(ง) รัฐสภา 2. สถาบันแห่งชาติจะต้องมีโครงสร้าง
(จ) หน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐ (หากมีผู้แทนหน่วยงาน พื้นฐานที่เหมาะสมที่จะท�าให้สามารถด�าเนิน
ภาครัฐ ควรมีส่วนร่วมในการพิจารณาในฐานะให้ค�าแนะน�า กิจกรรมได้อย่างราบรื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องมี
ปรึกษาเท่านั้น) งบประมาณที่เพียงพอ การมีงบประมาณดังกล่าว
ก็เพื่อให้สถาบันแห่งชาติสามารถมีเจ้าหน้าที่และ
อาคารที่ท�าการเป็นของตนเอง เพื่อความเป็นอิสระ
จากรัฐบาลและไม่อยู่ภายใต้การควบคุมทางการเงิน
ที่อาจกระทบต่อความเป็นอิสระของสถาบันได้
3. เพื่อประกันว่าสมาชิกของสถาบันแห่งชาติจะมีอาณัติในการปฏิบัติงานที่มั่นคง ซึ่งหากปราศจากเรื่องนี้ จะไม่
สามารถมีความเป็นอิสระได้อย่างแท้จริง การแต่งตั้งสมาชิกจึงต้องเกิดจากการด�าเนินการอย่างเป็นทางการ โดยมีการ
ก�าหนดระยะเวลาของการปฏิบัติงานตามอาณัติที่ชัดเจน บุคคลอาจได้รับมอบหมายให้ด�ารงต�าแหน่งซ�้าอีกได้ หากการ
กระท�าเช่นนั้นไม่กระทบต่อความหลากหลายของสมาชิกภาพของสถาบัน
21
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ