Page 29 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 29
3. รูปแบบผสมผสำน
(Hybrid)
สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในรูปแบบผสมผสานนี้ (hybrid) จะเป็นสถาบันรัฐเพียงแห่งเดียวแต่มีอ�านาจ
หน้าที่ (mandates) ที่หลากหลาย ทั้งในด้านสิทธิมนุษยชน รวมถึงการตรวจสอบความไม่ถูกต้องในการบริหารงาน
ของรัฐ การทุจริต และปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ตัวอย่างดังเช่นประเทศสเปน หรือประเทศในแถบลาตินอเมริกา
สถาบันในรูปแบบนี้จะมีอ�านาจทั้งแบบผู้ตรวจการแผ่นดิน และมีอ�านาจในการตัดสินคดีแทนศาล รวมถึงอ�านาจ
หน้าที่ของผู้ตรวจการแผ่นดิน และมีอ�านาจในการตัดสินคดีแทนศาลได้อีกด้วย
โดยปกติแล้ว สถาบันแห่งนี้จะน�าลักษณะของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติที่คล้ายกับของส�านักงานผู้ตรวจการ
แผ่นดินมาใช้ นั่นคือ การน�าโดยบุคคลเดียว และสมาชิกอื่นจะมีอ�านาจเพียงให้ค�าแนะน�าเท่านั้น
รูปแบบกำรก�ำหนดองค์กรแบบรวมอ�ำนำจนี้
มีข้อดีและข้อเสีย คือ
ข้อดี คือ การให้บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ ในการจัดการกับปัญหาและข้อร้องเรียน
เพื่อให้การจัดการกับปัญหาด้านสิทธิมนุษยชนเป็นการมองภาพองค์รวมร่วมกับปัญหาอื่น ๆ
ในสังคม อันจะท�าให้การแก้ปัญหาเป็นรูปแบบบูรณาการมากขึ้น
ข้อเสีย คือ การจัดการอาจลดทอนน�้าหนักและคุณค่าของสิทธิมนุษยชนลง
4. รูปแบบที่เป็นหน่วยงำนให้ค�ำแนะน�ำและค�ำปรึกษำ
การจัดสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในรูปแบบนี้ มักเป็นการจัดในรูปคณะกรรมการที่ปรึกษาซึ่งประกอบด้วย
สมาชิกในวงกว้างที่เกิดจากการมีส่วนร่วมจากหลายส่วนของภาคสังคม ทั้งนี้ สมาชิกเหล่านี้จะไม่มีอ�านาจในการ
ตรวจสอบข้อร้องเรียน แต่จะสามารถคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิมนุษยชนผ่านการให้ค�าแนะน�ากับรัฐบาล
ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การรายงานปัญหาเฉพาะต่าง ๆ ที่ส�าคัญ การท�าการศึกษาวิจัยเพื่อชี้ปัญหาและทางแก้ไข ฯลฯ
28
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ