Page 30 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 30
ทั้งนี้ หน่วยงำนรูปแบบนี้จะมีลักษณะต่ำง ๆ ดังนี้
มีการรวมตัวจากกลุ่มคน โดยปกติจะไม่ได้รับมอบอ�านาจ มุ่งเน้นไปที่การให้แนะน�า
จ�านวนมากของพลังทางสังคม ให้ตรวจสอบข้อร้องเรียนใด ๆ แต่อาจ แก่รัฐในประเด็นสิทธิมนุษยชน
และมีแนวโน้มที่จะมีสมาชิกที่ จะให้ค�าแนะน�าหรือค�าปรึกษาอย่าง และด�าเนินการศึกษาวิจัยสิทธิ
เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อเวลา กว้าง ๆ แก่รัฐบาลในหลากหลาย มนุษยชน
ผ่านไป ประเด็นที่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติรูปแบบนี้จะประกอบด้วยสมาชิกจากหลายฝ่ายด้วยกัน ซึ่งท�าให้เกิดความน่าเชื่อถือ
จากรัฐบาลและประชาชน เนื่องจากความคิดเห็นของพวกเขาจะสะท้อนภาพรวมของพลังทางสังคมกลุ่มต่าง ๆ เอาไว้
อย่างไรก็ตาม การมีสมาชิกจ�านวนมากอาจก่อให้เกิดความสิ้นเปลืองและส่งผลให้การตัดสินใจล่าช้า
ข้อได้เปรียบของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในรูปแบบนี้จะมุ่งเน้นการวิจัยเชิงลึก ที่จะมาส่งเสริมงานสิทธิมนุษยชน
ได้อย่างมีประสิทธิภาพในเชิงนโยบาย แต่อาจมีข้อเสีย คือ การไม่มีประสบการณ์ตรงในกรณีข้อร้องเรียนของแต่ละบุคคล
อาจท�าให้การท�างานในส่วนคุ้มครองสิทธิมนุษยชนยิ่งห่างไกลออกไป และการให้ได้แค่ค�าปรึกษาและค�าแนะน�า
แล้วรัฐบาลไม่น�าไปปฏิบัติหรือเพิกเฉย อาจส่งผลอย่างมากต่อภาพลักษณ์ของสถาบัน ทั้งนี้ สถาบันรูปแบบนี้จะพบใน
ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา โดยเฉพาะในประเทศที่พูดภาษาฝรั่งเศส
5. สถำบันรูปแบบอื่น ๆ
สถาบันรูปแบบนี้จะมีลักษณะที่มีสถาบันหลายแห่งในประเทศเดียว โดยมีหน้าที่รับผิดชอบในการส่งเสริมและ
ปกป้องสิทธิมนุษยชนในประเด็นเฉพาะต่าง ๆ อาทิ สิทธิที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศสภาพ เด็ก หรือกลุ่มชนพื้นเมือง ฯลฯ
29
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ