Page 122 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 122
สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติยังมีหน้าที่ในการจัดท�ารายงานผลการด�าเนินการตามพันธกรณีที่ตกลงไว้ในสนธิสัญญา
ระหว่างประเทศแก่คณะผู้เชี่ยวชาญของสหประชาชาติประจ�าสนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน (treaty bodies) รวมทั้งน�า
ค�าแนะน�าและข้อเสนอแนะกลับมาเสนอแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดการด�าเนินการติดตามและประเมินผล
กระบวนการการรายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของประเทศต่อคณะท�างาน หรือ Universal Periodic Review
(UPR) เป็นอีกกลไกสิทธิมนุษยชนหนึ่งที่เกิดขึ้นจากการรับรองข้อมติของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติที่ 60/251 ลงวันที่
15 มีนาคม ค.ศ. 2006 โดยเป็นกระบวนการที่แต่ละประเทศต้องปฏิบัติตามเพื่อรายงานสถานการณ์สิทธิมนุษยชน ทั้งนี้
กระบวนการดังกล่าวจะมีการด�าเนินการจัดท�าและเสนอรายงานในทุก ๆ 4 ปีตามข้อมติของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชน
(Human Rights Council Resolution) ที่ 5/1 ซึ่งให้รัฐบาลของประเทศจัดท�ารายงานผ่านการให้ค�าปรึกษาจากหลากหลาย
หน่วยงานและสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
การทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนตามแนวทางนี้จะท�าในรูปแบบคณะท�างาน ที่มีหน้าที่จัดท�ารายงานซึ่งประกอบด้วย
การสรุปความคืบหน้า ความส�าเร็จ และข้อเสนอแนะ รวมถึงค�ามั่นสัญญาที่รัฐบาลจะด�าเนินการในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ
งานด้านสิทธิมนุษยชน แม้ว่าความรับผิดชอบหลักของการจัดท�ารายงานฉบับนี้จะอยู่ที่รัฐบาล แต่ข้อมติที่ 5/1 ได้ระบุให้
สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีหน้าที่ด�าเนินการดังต่อไปนี้
ส่งข้อมูลที่เกิดจากการรวมบทสรุปและ เข้าร่วมประชุมกับคณะท�างานที่แต่งตั้งขึ้น
ข้อเสนอแนะต่าง ๆ ให้แก่ส�านักงานข้าหลวงใหญ่ ในการพิจารณารายงานทบทวนสถานการณ์
สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (OHCHR) สิทธิมนุษยชนของประเทศ (UPR)
มีส่วนร่วมในการติดตามการด�าเนินการตาม แสดงความคิดเห็น ก่อนที่คณะท�างาน
ข้อเสนอแนะที่ได้รับ (แม้ว่าความรับผิดชอบหลัก จะให้การรับรองรายงาน
จะเป็นของรัฐบาล)
โดยสรุป จะเห็นว่าสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติสามารถประสานความร่วมมือกับองค์กรระหว่างประเทศ ทั้งในรูปแบบ
ของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การร่วมตรวจสอบสมาชิก (peer review) และการร่วมจัดท�ารายงานสถานการณ์สิทธิมนุษยชน
ตามแนวทางที่สหประชาชาติก�าหนดไว้
121
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ