Page 121 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 121
7.2 แนวทางปฏิบัติงานด้านการประสานกับองค์กรระหว่างประเทศ
สหประชาชาติได้สนับสนุนให้มีการพัฒนาหน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนทั้งในระดับชาติ ในระดับภูมิภาค
และระดับระหว่างประเทศ เพื่ออ�านวยความสะดวกและส่งเสริมให้เกิดการสนทนาและแลกเปลี่ยนแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุด
(best practices) สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติที่ตั้งขึ้นใหม่ควรสร้างสัมพันธ์และติดต่อกับหน่วยงานเครือข่ายเหล่านี้ เพื่อจะได้
ช่วยกันแก้ไขปัญหาที่เผชิญ และยังเป็นโอกาสที่จะเรียนรู้จากสถาบันอื่น ๆ อีกด้วย
สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติอาจใช้วิธีการต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนและอ�านวย
ความสะดวกในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นอกเหนือจากการประชุมเป็นประจ�า คือ
การส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเจ้าหน้าที่ เพื่อให้
1 สถาบันฯ ได้ประโยชน์จากประสบการณ์ของ
การส่งเสริมการดูงานจากสถาบันหนึ่ง เจ้าหน้าที่จากสถาบันอื่น และวิธีการในการ
ไปยังอีกสถาบันหนึ่งซึ่งมีผู้เชี่ยวชาญที่ 2 แก้ปัญหาในประเด็นเฉพาะของพวกเขา
ได้รับการยอมรับ
การส่งเสริมการส่งผู้เชี่ยวชาญจากสถาบันหนึ่ง
การจัดสัมมนาและประชุมเชิงปฏิบัติการ ไปยังอีกสถาบันหนึ่ง เพื่อสร้างให้เกิดการพัฒนา
ระหว่างสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ความเชี่ยวชาญขึ้น
เพื่อตรวจสอบปัญหาเฉพาะหรือเพื่อ 4
เปรียบเทียบ และร่างตัวอย่างแนวทาง การส่งเสริมการพัฒนารูปแบบความสัมพันธ์
ในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน 5 ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ผ่านการ
ติดต่อซึ่งกันและกันระหว่างเจ้าหน้าที่ของ
การจัดฝึกอบรมระดับอนุภูมิภาคหรือ แต่ละสถาบันฯ
ในระดับภูมิภาค ในเรื่องที่เกี่ยวกับ 6
หลักสิทธิมนุษยชนที่เป็นปัญหาในกลุ่ม การสนับสนุนการแบ่งปันข้อมูลเกี่ยวกับ
ภูมิภาคนั้น ๆ 7 วิธีการจัดการกับปัญหาให้กับสถาบันอื่น ๆ
นอกจากนี้ การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเครือข่ายระหว่างประเทศและภูมิภาค ยังท�าหน้าที่ในการตรวจสอบสถาบันฯ
ที่สร้างขึ้นใหม่ การยอมรับและการรับรองโดยเครือข่ายจะยืนยันว่าสถาบันฯ นั้น ๆ ได้ด�าเนินงานอย่างสอดคล้องกับหลักการ
ปารีสและมีความน่าเชื่อถือ
120
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ