Page 120 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 120
การมีส่วนร่วมกับองค์กรภาคประชาสังคม องค์การเอกชน (NGOs) สื่อ และผู้พิทักษ์สิทธิมนุษยชนยังเป็นตัวแปรส�าคัญ
ที่อาจส่งเสริมการท�างานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีขึ้น ทั้งนี้ สถาบันฯ อาจมีกลยุทธ์ในการด�าเนินการ
ดังต่อไปนี้
สร้างความใกล้ชิดและ
การท�างานร่วมกันมากขึ้นกับองค์กร
ภาคประชาสังคมและองค์การเอกชน สร้างโอกาสในการแลกเปลี่ยน
ทั้งผ่านการประชุมสาธารณะ มากกว่าปกติ ระหว่างภาครัฐและ
ในประเด็นเฉพาะ หรือการน�าเสนอ ภาคประชาสังคมโดยการประชุมไตรภาคี
สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในภาพกว้าง ๆ (ระหว่างสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ รัฐบาล
ที่เกิดขึ้นระหว่างปี และองค์การเอกชน)
เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับ
ประเด็นสิทธิมนุษยชนที่ส�าคัญ
เพิ่มการท�างานและความร่วมมือ
กับกลไกสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งผ่านตามกระบวนการ มีส่วนร่วมในระดับประเทศ
การรายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชน ระดับภูมิภาค และเหตุการณ์
ของประเทศต่อคณะท�างาน Universal ระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน
Periodic Review (UPR) ซึ่งสถาบัน และการประชุมที่จะเรียนรู้เกี่ยวกับ
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีบทบาท มุมมองระหว่างประเทศที่เกิดขึ้นใหม่ และ
ส�าคัญอย่างยิ่ง การปฏิบัติที่จะเป็นประโยชน์แก่
สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ภายใต้กลยุทธ์ความร่วมมือกับหน่วยงานภายในประเทศ สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติควรพัฒนาการมีส่วนร่วมกับ
สื่อในเชิงกลยุทธ์มากขึ้น อาจจะรวมถึงการหารือเป็นประจ�ากับสื่อที่เกี่ยวข้องกับประเด็นสิทธิมนุษยชน การมีส่วนร่วมของสื่อจะ
ส่งเสริมให้
• สื่อมีความเข้าใจในกฎหมายและมาตรฐานด้านสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศมากขึ้น
• สร้างความสนใจแก่สาธารณชนในสถานการณ์ความกังวลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนในประเทศ
• ส่งเสริมให้มุมมองการรายงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ รวมถึงข้อเสนอแนะต่าง ๆ ถูกเผยแพร่และน�าไปสู่
การยอมรับ/การน�าไปปรับใช้ในวงกว้าง
119
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ