Page 8 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 8

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand

                                              บทสรุปสําหรับผูบริหาร




                        โครงการศึกษาวิจัยเพื่อปรับปรุงแกไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม
               มีความเปนมาจากเรื่องราวรองเรียนของราษฎรจํานวนมากที่มีขอพิพาทกับรัฐและเอกชนและถูกละเมิดสิทธิ

               ถูกฟองรองดําเนินคดีขับไลออกจากที่ดินอยูอาศัยทํากินจนไดรับความเดือดรอน โครงการวิจัยนี้โดยมีวัตถุประสงค

               เพื่อรวบรวมขอมูลขอเท็จจริงจากเรื่องรองเรียนการละเมิดสิทธิดานที่ดินและปา วิเคราะหสังเคราะหประเด็นทาง
               นโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวของ จัดทําความเห็นในการปรับปรุงแกไขนโยบายและกฎหมาย ที่จะนําไปสูการคุมครอง
               สิทธิของประชาชน และจัดทําขอเสนอเพื่อการปฏิรูปโครงสรางระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวของกับที่ดินและปา

               โดยศึกษาที่ดิน 5 ประเภท ไดแก ที่ดินปาไม ที่ดินสาธารณะประโยชน ที่ดินราชพัสดุ ที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน (ส.ป.ก.)

               และที่ดินเอกชน ใชวิธีการวิจัยเอกสาร วิเคราะหเรื่องรองเรียนการละเมิดสิทธิ จํานวน 84 กรณี รวมทั้งจัดประชุม
               กลุมเปาหมายเฉพาะ (focused group) วิเคราะห สังเคราะหประเด็นทางนโยบายและกฎหมาย และประชุมรับฟง
               ความเห็นจากผูทรงคุณวุฒิ

                        ผลการวิจัยพบวา การละเมิดสิทธิที่ดินปาไมมีลักษณะการกระทําที่กอใหเกิดความขัดแยงในเรื่องสิทธิ

               ดังนี้  การกําหนดนโยบายและกฎหมายที่รวบสิทธิและอํานาจการจัดการที่ดินของชุมชนมาเปนของรัฐ การประกาศ
               เขตที่ดินของรัฐและใชอํานาจบริหารจัดการโดยขาดการมีสวนรวมของราษฎรในทองถิ่น เปนการจับกุมฟองรอง
               ดําเนินคดีราษฎรที่มีขอพิพาทกับรัฐ การกระทําการรุนแรงตอชีวิตและทรัพยสินของราษฎรคูกรณีพิพาท

               การจํากัดการทําประโยชนที่ดินและการพัฒนา รวมทั้งการเลือกปฏิบัติกับราษฎรที่ยากจน โดยมีผลการศึกษา

               ในที่ดินแตละประเภทดังนี้
                        ที่ดินปาไม มีลักษณะการกระทําที่กอใหเกิดความขัดแยงในเรื่องสิทธิดังนี้ 1) การประกาศเขตปา
               ทับที่ดินทํากินของราษฎรและชุมชน 2) การไมเพิกถอนเขตปาซึ่งออกทับที่ดินราษฎรที่มีสิทธิ 3) การจับกุม

               ฟองรองดําเนินคดีและสั่งใหออกจากพื้นที่ที่ราษฎรอางวามีสิทธิ 4) ใชวิธีการรุนแรงในการขับไลขมขูคุกคาม

               การจับกุมฟองรองดําเนินคดี 5) การกระทําการรุนแรงตอชีวิตและทรัพยสิน 6) การจํากัดการทําประโยชนที่ดิน
               7) การทําโครงการของหนวยงานปาไมทับที่อาศัยทํากิน 8) การอนุญาตใหหนวยงานของรัฐหรือเอกชนใชพื้นที่ปา
               ที่มีกรณีพิพาทกับราษฎรโดยที่ยังไมมีขอยุติ 9) การจํากัดการพัฒนา และ 10) การเลือกปฏิบัติกับราษฎรที่ยากจน

               สาเหตุที่ทําใหเกิดปญหาการละเมิดสิทธิ เกิดจากกระบวนการบริหารจัดการปา ตั้งแตการนิยามปาและการกําหนด

               พื้นที่ปาที่ไมสอดคลองกับความเปนจริง การไมยอมรับสิทธิชุมชน การหามใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติ
               ในพื้นที่ปา  โดยมีขอเสนอใหทบทวนนโยบายปาไมแหงชาติในประเด็นการกําหนดพื้นที่ลาดชันเปนที่สงวนหวงหาม
               การกําหนดพื้นที่ปา การกําหนดพื้นที่ที่อยูอาศัย พื้นที่ชนบทและพื้นที่เกษตรในเขตปาใหชัดเจน ปรับปรุงแกไข

               กฎหมายปาไมเกี่ยวกับนิยามปาในพระราชบัญญัติปาไม การใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ปา แกไข

               การประกาศ/ขยายเขตปาในพระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ และพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ รวมทั้งทบทวน
               กระบวนการและวิธีการตรวจสอบพิสูจนสิทธิราษฎรในเขตปาตามมติคณะรัฐมนตรีวันที่ 30 มิถุนายน 2541
               ใหเปนวิธีการที่ราษฎรและองคกรในทองถิ่นยอมรับและมีสวนรวม




                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  V
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13