Page 6 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 6

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand
                                                          คํานํา




                        ที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติถือเปนฐานการดํารงชีวิตของประชาชนในประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่ง
               กับผูที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยที่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 85

               ไดกําหนดแนวนโยบายดานที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม โดยมีเจตนารมณที่จะใหรัฐวางแผน
               บริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติใหแกประชาชนอยางเปนระบบ เปนธรรม และมีประสิทธิภาพ
               รวมทั้งใหประชาชนเขามามีสวนรวมในกระบวนการดังกลาวดวย แตในทางปฏิบัติกลับพบวา รัฐไมอาจกระจาย

               การถือครองที่ดินและชวยเหลือเกษตรกรใหมีสิทธิในที่ดินไดอยางทั่วถึง อีกทั้งยังเปนปญหาจนกอใหเกิดกรณีพิพาท
               ระหวางรัฐกับชาวบานขึ้น ดังจะเห็นไดจากเรื่องรองเรียนจํานวนมากที่รองเรียนมายังคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
               แหงชาติ โดยมีการกลาวอางวาถูกละเมิดสิทธิในการถือครองและใชประโยชนจากที่ดิน

                        คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติในฐานะองคกรตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งมีอํานาจหนาที่ประการหนึ่ง
               ในการตรวจสอบการกระทําหรือการละเลยการกระทําอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน  โดยมีกลไกในการตรวจสอบ
               การละเมิดฯ เกี่ยวกับเรื่องขางตนผานคณะอนุกรรมการสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปา ซึ่งผลจากการตรวจสอบ

               ขอเท็จจริง ปรากฏปจจัยแหงปญหาที่สําคัญ กลาวคือ กฎหมายที่บังคับใชอยูในปจจุบันมีเนื้อหาที่ไมสอดคลอง
               กับบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ จึงเปนผลทําใหเกิดขอพิพาทระหวางรัฐและชาวบานอยางตอเนื่อง ดังนั้น

               การเรงแกไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนในเรื่องดังกลาวจึงเปนเรื่องที่มีความสําคัญ เพื่อที่จะนําไปสูการแกไข
               ปญหากรณีพิพาทในเรื่องที่ดินและปาไม ทั้งในระดับนโยบายและในระดับปฏิบัติการ
                        ดวยเหตุดังกลาว สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติจึงไดดําเนินโครงการศึกษาวิจัย

               เพื่อปรับปรุงแกไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม โดยมีสถาบันสิทธิมนุษยชน
               และสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล เปนที่ปรึกษา ทั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อรวบรวมขอมูล ขอเท็จจริงจากเรื่อง

               รองเรียน รายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และนโยบาย
               ของรัฐเกี่ยวกับที่ดินและปาไมในพื้นที่ประเภทตางๆ ไดแก ที่ดินปาไม ที่ดินสาธารณะ ที่ดินราชพัสดุ ที่ดินในเขต
               ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) และที่ดินเอกชน โดยการวิเคราะห สังเคราะหประเด็นทางนโยบายและกฎหมาย

               ที่เกี่ยวของกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนในที่ดินและปา เสนอความเห็นในการปรับปรุงแกไขนโยบายและกฎหมาย
               ที่จะนําไปสูการคุมครองสิทธิของประชาชน ตลอดจนขอเสนอเพื่อการปฏิรูปโครงสราง ระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวของ
               กับที่ดินและปา เพื่อใหการแกไขปญหาในเรื่องดังกลาวครอบคลุมทั้งกระบวนการตั้งแตในระดับนโยบายจนถึง

               ในระดับปฏิบัติการ
                            สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ หวังเปนอยางยิ่งวา รายงานการศึกษาวิจัยฉบับนี้
               จะเปนประโยชนสําหรับหนวยงาน/ผูที่เกี่ยวของ ทั้งหนวยงานในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติการ รวมถึงประชาชน

               ผูไดรับผลกระทบโดยตรงในเรื่องดังกลาว ในการที่จะนําองคความรูตลอดจนขอเสนอแนะที่ไดจากการศึกษาวิจัย
               ไปใชพิจารณาทบทวน ปรับปรุง แกไขนโยบาย ขอกฎหมายที่เกี่ยวของ รวมทั้งแนวทางในการบริหารจัดการ

               เรื่องที่ดินและปาใหเปนธรรม สอดคลองตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ และเปนไปตามหลักสิทธิมนุษยชนตอไป


                                                                   สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ




                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  III
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11