Page 14 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 14

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand

                        นโยบายและกฎหมายดานปาไม

                        นโยบายปาไมที่ดีจะชวยใหมีแนวคิดทิศทางการจัดการที่ดินและปาที่ชัดเจน ยังชวยใหการคุมครองรักษา
               และจัดการใชประโยชนที่ดินปาไมมีประสิทธิภาพ แตนโยบายปาไมปจจุบันนอกจากไมสมสมัยแลวยังขาด

               มิติทางสังคมและการพัฒนา และยังมิไดคํานึงถึงหลักการดานสิทธิมนุษยชน นโยบายปาไมหลายขอจึงนําไปปฏิบัติ
               ไมได หรือบางขอที่นําไปปฏิบัติก็ทําใหเกิดความขัดแยงกับราษฎรในทองถิ่น จึงควรทบทวนนโยบายดานที่ดินปาไม

               เสียใหม ดังนี้
                        - กําหนดหลักการสําคัญ คือ เนนความสามารถนําไปปฏิบัติได กลาวคือ จะตองปรับปรุงใหสอดคลอง

               กับบริบททางสังคมและการเมืองที่เปลี่ยนแปลงไป
                        - มุงการตอบสนองปญหาความตองการของชุมชนทองถิ่นและประเทศชาติโดยคํานึงถึงการมีสวนรวม

               ของทุกภาคสวน
                        - วัตถุประสงคสําคัญของนโยบายปาไมแหงชาติควรเนนความสมดุลของการปองกันรักษาปาธรรมชาติ

               การฟนฟูปาโดยกระบวนการทางธรรมชาติและการมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น และการจัดสรรทรัพยากร
               อยางเปนธรรมเทาเทียมกัน

                        - ควรจะตองใหความสําคัญกับสิทธิของราษฎรและชุมชนในเขตปา และชวยสงเสริมใหชุมชนในเขต
               ปามีการวางแผนการใชที่ดินของชุมชนและใชสิทธิในการบริหารจัดการที่ดินปาไมรวมกับรัฐ เพื่อใหเกิดประโยชน

               ทางเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดลอมกับชุมชนทองถิ่นและประเทศชาติอยางสมดุลยั่งยืน
                        - กลไกการจัดการความขัดแยง ควรเนนการแปลงเปลี่ยนความขัดแยงเปนความรวมมืออยาง

               สรางสรรค และการบริหารจัดการความขัดแยงอยางสันติวิธีและเปนธรรม
                        - กฎหมายปาไมหลายฉบับไมสอดคลองกับสถานการณปจจุบันและซํ้าซอนกัน จึงควรปรับปรุง

               กฎหมายใหมีความเปนเอกภาพ เชื่อมโยง และสอดคลองกับการจัดการที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติดานอื่น ๆ
               ดวยการนํากฎหมายปาไมทุกฉบับมาบูรณาการเปน “ประมวลกฎหมายปาไม” ที่มีลักษณะเปนกฎหมายสงเสริม

               และสนับสนุนราษฎรในทองถิ่นใหมีอํานาจและบทบาทหนาที่ในการคุมครองและจัดการใชประโยชนปาอยาง
               สมดุลยั่งยืน

                        นอกจากนี้ ยังควรทบทวนหรือยกเลิกมติ ครม. หลายฉบับที่สงผลกระทบตอประชาชน เชน
                        1. ยกเลิก มติ ครม. วันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 ซึ่งหามไมใหออกเอกสารสิทธิในที่ดินที่ไมมี

               หลักฐานการครอบครองเปนการเฉพาะราย เพราะไมเปนธรรมกับราษฎรที่อยูมากอนการประกาศเปนที่ดินของรัฐ
                        2. ทบทวนมติ ครม. วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2541 ในประเด็นตาง ๆ ดังนี้

                            2.1  การสํารวจแนวเขต เพราะที่ผานมาไมมีการสํารวจชัดเจนวามีแนวเขตเทาไร ทับที่ชาวบาน
               หรือไม

                            2.2  การใชภาพถายทางอากาศเพื่อดูการบุกรุกโดยที่แนวเขตไมชัดเจน แสดงถึงความไมเปนธรรม
               กับราษฎร







                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  XI
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19