Page 123 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง สิทธิชุมชนและผลกระทบโครงการพัฒนาภาคใต้
P. 123

๑๐๔       รายงานการศึกษาวิจัย
                เรื่อง  สิทธิชุมชน และผลกระทบจากโครงการพัฒนาภาคใต




              เปน “แลนดบริดจ” กับทาเรือจะนะ จังหวัดสงขลา ทางฝงตะวันออกได โดยระยะทางเชื่อม ๒ ฝง ประมาณ ๑๐๐
              กวากิโลเมตรเทานั้น และใกลศูนยกลางภาคใต สวนเสนทางรถไฟโดยการศึกษาของ บริษัท เอทีที คอนซัลแตนท
              จํากัด บริษัทที่ปรึกษาที่ศึกษาโครงการทาเรือนํ้าลึกในภาคใต ระบุวา หากรัฐบาลเห็นสมควรใหมีการกอสรางทาเรือ

              ปากบารา จะใชงบประมาณในการกอสรางประมาณ ๒๖,๐๐๐ ลานบาท แบงการกอสรางออกเปน ๓ ระยะ ระยะแรก

              ใชเงินลงทุน ๑๐,๖๐๐ ลานบาท รองรับตูคอนเทนเนอร ขนาด ๒๐ ฟุต ได ๘.๒๕ แสนตู กําหนดการกอสรางในป
              พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๖ สวนระยะที่ ๒ กําหนดการกอสรางในป พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๖๓ ใชเงินลงทุน ๕,๑๐๐ ลานบาท
              รองรับตูคอนเทนเนอรได ๑.๓ ลานตู สวนในขณะที่ระยะที่ ๓ จะกอสรางในป พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๖๗ ใชเงินลงทุน

              ๑๐,๓๐๐ ลานบาท รองรับตูคอนเทนเนอรได ๒.๔ ลานตู

                                 ทาเทียบเรือนํ้าลึกปากบาราและลานกองสินคา เปนพื้นที่ถมทะเล อยูใกลแนวนํ้าลึก
              ๔.๒ กิโลเมตร โดยแบงการพัฒนาพื้นที่โครงการออกเปน ๓ ระยะ ดังนี้
                                 - การพัฒนาระยะที่  ๑  พื้นที่ทาเทียบเรือจะตั้งอยูบนพื้นที่ถมทะเลซึ่งมีขนาด

              ๔๓๐ x ๑,๐๘๖ เมตร รวมเนื้อที่ประมาณ ๒๙๒ ไร มีขนาดความยาวหนาทา ๗๕๐ เมตร และเชื่อมตอกับ

              พื้นที่บนฝงดวยสะพานคอนกรีต ๔ ชองจราจร และทางรถไฟเปนเสนทางขนสงความยาวประมาณ ๔.๕ กิโลเมตร
              จากฝงดานนอกของทาเทียบเรือจะมีการสรางเขื่อนหินทิ้งเพื่อกันคลื่น ยาว ๑,๗๐๐ เมตร และขุดรองนํ้าเดินเรือ
              กวาง ๑๘๐ เมตร ยาว ๑๐ กิโลเมตร ดวยความลึก ๑๔ เมตร พื้นที่ดานหนาเปนทาเทียบเรือสินคาตูคอนเทนเนอร

              ดานขางเปนทาเทียบเรือบริการ และดานหลังเปนลานกองตูสินคาและรางรถไฟ โดยแบงการพัฒนาโครงการ

              เปน ๒ สวน คือ (๑) สวนที่ ๑ ประกอบดวย การกอสรางทาเทียบเรือสินคาคอนเทนเนอร ๒ ทา ความยาวหนาทา
              ๗๕๐ เมตร และทาเทียบเรือบริการ ความยาว ๒๑๒ เมตร ลานกองสินคาตู ขนาดกวาง ๒๘๐ เมตร ยาว ๓๕๐ เมตร
              อาคารตาง ๆ รวม ๒๖ อาคาร ถนนภายในทาเทียบเรือ และลานจอดรถบรรทุกสินคา ระบบสาธารณูปโภค

              สะพาน และถนนเขาสูทาเทียบเรือ การขุดลอกรองนํ้า แองกลับเรือและที่จอดเรือบริเวณหนาทา ทางรถไฟเขา

              ทาเทียบเรือ และลานขนสงตูสินคาจากรถไฟ (๒) สําหรับสวนที่ ๒ เปนลานกองเก็บตูสินคาพื้นที่ กวาง ๒๘๐ เมตร
              ยาว ๓๕ เมตร และระบบสาธารณูปโภคเพิ่มเติม
                                 - การพัฒนาระยะที่ ๒ จะเกิดขึ้นหลังจากทาเรือระยะที่ ๑ เปดใชงานไปแลว ๖ ป ตองกอสราง

              เพิ่มดวยการถมทะเลสวนปลายดานที่อยูใกลชายฝงเพิ่ม ๒๔๐ ไร เปนรูปตัว L เพื่อทําเปนทาเทียบเรือความยาว

              หนาทา ๕๐๐ เมตร พรอมลานกองตูสินคาและอาคารประกอบ
                                 - การพัฒนาระยะที่ ๓ ทําตอจากการพัฒนาระยะที่ ๒ โดยกอสรางทาเทียบเรือ
              ดานทิศตะวันออกของทาเรือเดิมหลังเปดใชงานแลว ๑๒ ป โดยใหมีความยาวหนาทา ๑,๐๐๐ เมตร และจะมี

              การถมทะเลเพิ่มเติมอีก ๔๕๐ ไร รวมทั้งมีการขยายรองนํ้าและแองกลับลําเรือจาก ๑๘๐ เมตร เปน ๓๐๐ เมตร

              และความลึกรองนํ้าเปน ๑๕ เมตร
                                 ทั้งนี้ การจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการไมไดมีการ
              จัดทําทั้งหมด ๓ ระยะ ที่มีการถมทะเลรวมกวา ๙๘๒ ไร แตเปนการจัดทําเฉพาะการพัฒนาโครงการในระยะที่ ๑

              ที่มีการถมทะเลเพียงพื้นที่ ๒๙๒ ไร เทานั้น อีกทั้งยังไมมีการประเมินผลกระทบตอกิจกรรมตาง ๆ ที่มีการเชื่อมโยง

              กับการพัฒนาทาเรือนํ้าลึกปากบารา เชน แหลงหินและทรายที่จะนํามาใชในการถมทะเล เปนตน
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128