Page 121 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง สิทธิชุมชนและผลกระทบโครงการพัฒนาภาคใต้
P. 121

๑๐๒       รายงานการศึกษาวิจัย
                เรื่อง  สิทธิชุมชน และผลกระทบจากโครงการพัฒนาภาคใต




              สะพานเศรษฐกิจสงขลา-สตูล โดยที่รัฐบาลจะตองสรางระบบโครงขายการคมนาคมขนสงเชื่อมระหวางทาเรือนํ้าลึก
              ปากบารากับทาเรือสงขลา ดังนี้
                             ๑)   การขนสงดานถนน โดยพัฒนาโครงขายถนน ทั้งโครงขายถนนรอบทาเรือปากบาราและ

              โครงขายถนนที่เชื่อมสตูลไปยังจังหวัดอื่น ๆ โดยเฉพาะการขยายและปรับปรุงเสนทางเชื่อมระหวางสามแยกคูหา

              อําเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา และทางหลวงหมายเลข ๔๐๘ เพื่อชวยในการขนสงสินคาระหวางทาเรือ หรือสราง
              ถนนสายในจากอําเภอละงู จังหวัดสตูล ไปทาเรือสงขลา ดวยการเจาะอุโมงค
                             ๒)   การขนสงทางรถไฟ ซึ่งจะใชเปนวิธีการขนสงหลักในการขนสงสินคาระหวางทาเรือทั้งสอง

              โดยสรางทางรถไฟระบบรางคู เพื่อใหการขนสงที่รวดเร็ว ทั้งนี้ ในปจจุบันยังไมมีเสนทางรถไฟเชื่อมตอมาถึงจังหวัด

              สตูล ทางรถไฟที่อยูใกลกับทาเรือปากบารา คือ เสนทางรถไฟที่ไปทางอําเภอหาดใหญ ซึ่งอยูทางดานตะวันออกของ
              จังหวัดสตูล โดยมีสถานีอยูที่อําเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา เปนสถานีที่ใกลที่สุด ระยะทางประมาณ ๑๑๐
              กิโลเมตร

                             ๓)   การวางขนสงทางทอ เพื่อขนสงสินคาเหลว ไดแก นํ้ามัน กาซ และสารเคมี เพื่อลดตนทุน

              และความรวดเร็วในการขนสงสินคาเหลว
                             ๔)   การสรางสถานีรวบรวมตูสินคาและรวบรวมสินคาเหลว สถานีสินดังกลาวอาจจะใชบริเวณ
              สถานีรถไฟหาดใหญ จังหวัดสงขลา และบริเวณหางออกไปอีก ๑๐ กิโลเมตร ทางทิศใตของสถานีรถไฟสงขลา

              ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ ๒๐ ไร และสรางสถานีรวบรวมสินคาในนิคมอุตสาหกรรมสตูล

                                 สวนยุทธศาสตรในการพัฒนาทาเรือนํ้าลึกปากบารา อําเภอละงู จังหวัดสตูล วาจะดําเนินการ
              แบบบูรณาการและมียุทธศาสตรที่เปนรูปธรรม ประกอบดวย ยุทธศาสตรการพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมและการพัฒนา
              อุตสาหกรรม เพื่อพัฒนาทาเรือนํ้าลึกปากบาราใหเปนพื้นที่อุตสาหกรรม เพื่อลดตนทุนการผลิตและสงเสริม

              การสงออก ประกอบดวย (รูปภาพที่ ๑๗)

                             ๑)   ทาเรือนํ้าลึกปากบารา สําหรับการสงสินคาออกและนําเขา โดยพัฒนาเปนทาเรือ
              เอนกประสงค (Multi–purpose Port) ที่มีการขนสงสินคาแบบใสตูสินคา แบบเทกอง และสินคาเหลวทางทอ
              ไดแก นํ้ามัน แกส สารเคมี

                             ๒)   การพัฒนาพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมควบคูกับทาเรือนํ้าลึก ซึ่งมีพื้นที่ที่มีศักยภาพสําหรับ

              พัฒนาเปนนิคมอุตสาหกรรมประมาณ ๑๕๐,๐๐๐ ไร ในบริเวณอําเภอละงู จังหวัดสตูล นิคมอุตสาหกรรมในที่นี้
              แบงเปน ๓ เขต คือ
                                 - เขตอุตสาหกรรมเพื่อการสงออก (Export Processing Zone) ทั้งหมด โดยไมตองผาน

              พิธีการศุลกากร ทั้งในกรณีนําวัตถุดิบเขาและเมื่อสงออกสินคาสําเร็จรูป

                                 - เขตอุตสาหกรรมหนัก ซึ่งเปนอุตสาหกรรมที่มีความเชื่อมโยงไปขางหนาสูง เชน
              อุตสาหกรรมพลาสติก เปนตน
                                 - เขตอุตสาหกรรมเบา เปนอุตสาหกรรมที่มีความเชื่อมโยงไปขางหนาและขางหลัง

              ซึ่งสวนใหญเปนอุตสาหกรรมผลิตสินคาอุปโภคบริโภค เชน อาหารทะเลกระปอง เปนตน

                             นอกจากนี้ ยังมีเขตอุตสาหกรรมสนับสนุนและตอเนื่องกับทาเรือ ไดแก อูซอมเรือหรืออูตอเรือ
              อุตสาหกรรมซอมและลางตูขนสินคา เขตนี้อยูติดหรือใกลกับทาเรือนํ้าลึกปากบารา
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126