Page 124 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง สิทธิชุมชนและผลกระทบโครงการพัฒนาภาคใต้
P. 124

รายงานการศึกษาวิจัย  ๑๐๕
                                                                 เรื่อง สิทธิชุมชน และผลกระทบจากโครงการพัฒนาภาคใต




                                  ปจจุบันโครงการทาเรือนํ้าลึกปากบารา ยังอยูในระหวางการจัดทํารายงานการวิเคราะห
               ผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ (EHIA) เพื่อนําเสนอตอคณะกรรมการองคกรอิสระดานสิ่งแวดลอมและ
               สุขภาพใหความเห็นประกอบการพิจารณา และอีกทั้งตองนําเสนอตอคณะกรรมการอุทยานแหงชาติเพื่อทําการ

               เพิกถอนพื้นที่อุทยานแหงชาติเภตรา จํานวน ๔,๗๓๔ ไร

                              ๒)   โครงการนิคมอุตสาหกรรมละงู ๑๕๐,๐๐๐ ไร
                                  จากการลงสํารวจแนวเขตพื้นที่ซึ่งมีศักยภาพที่จะพัฒนาเปนนิคมอุตสาหกรรมละงู
               ๑๕๐,๐๐๐ ไร พบวาพื้นที่ดังกลาวนาจะตั้งอยูฝงตะวันออกของถนนสายปะเหลียน–สตูล ครอบคลุมอาณาบริเวณ

               ๔ อําเภอ คือ อําเภอละงู เกือบเต็มพื้นที่ ยกเวนบานวังสายทอง ตําบลนํ้าผุด ตําบลปาลมพัฒนา อําเภอมะนัง

               บางสวน ตําบลอุไดเจริญ อําเภอควนกาหลงบางสวน และบานสวนเทศ อําเภอทาแพ ปจจุบันโครงการนี้ยังอยูในขั้นการเปน
               กรอบแนวคิดในรายงานการศึกษาเพื่อรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมจากการพัฒนาทาเรือนํ้าลึกปากบารา
                              ๓)   โครงการทางรถไฟเชื่อมการขนสงสินคาระหวางทาเรือฝงอาวไทยและฝงอันดามัน

                                  สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร (สนข.) กระทรวงคมนาคม ซึ่งเปนผูรับผิดชอบ

               การศึกษาความเหมาะสมและออกแบบเบื้องตนทางรถไฟเชื่อมการขนสงสินคาระหวางทาเรือฝงอาวไทยและ
               ฝงอันดามัน (รถไฟรางคู) ตามนโยบายของรัฐบาลในการที่จะพัฒนาทาเรือนํ้าลึกบานปากบารา จังหวัดสตูล และ
               พัฒนาศักยภาพทาเรือนํ้าลึกจะนะ ตําบลนาทับ จังหวัดสงขลา และรวมกันทําหนาที่เปนสะพานเศรษฐกิจ สราง

               ทางเลือกใหมในการขนสงผานประเทศไทยแทนการเดินเรือผานชองแคบมะละกา โดยสํานักงานนโยบายและแผน

               การขนสงและจราจรไดวาจางกลุมบริษัทที่ปรึกษา อันประกอบดวย บริษัท เอเชี่ยน เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนส จํากัด
               บริษัท เอ็นริช คอนซันแตนท จํากัด บริษัท พีซีบีเค อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด บริษัท โชติจินดา มูเชล คอนซัลแตนท
               จํากัด และบริษัท พีทีแอล คอนซัลแทนส จํากัด ใหดําเนินการศึกษาความเหมาะสมและออกแบบเบื้องตน ระยะเวลา

               ๑๒ เดือน ตั้งแตวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๕๒-กันยายน ๒๕๕๓ และจาง บริษัท เอ็นริช คอนซัลแตนท จํากัด เปน

               บริษัทที่ปรึกษาดานสิ่งแวดลอม ดานการประชาสัมพันธ และการมีสวนรวมของประชาชน โดยที่คณะที่ปรึกษาไดเสนอ
               แนวเสนทางการกอสรางทางรถไฟสาย แนวเสนทางที่ ๒ เอ จากทั้งหมดที่มีการนําเสนอ ๔ แนวเสนทาง โดยใหเหตุผลวา
               มีความเหมาะสมมากที่สุดทั้งทางวิศวกรรม เศรษฐกิจ สังคมและดานสิ่งแวดลอม รวมทั้งมีความเหมาะสม

               ในหลายปจจัย เชน ลักษณะรูปแบบของแนวเสนทางรถไฟ การกอสราง ความปลอดภัย ประสิทธิภาพ การขนสง

               การเดินรถและระยะเวลา คุณภาพการใหบริการ คากอสราง คาเวนคืนที่ดิน การพัฒนาพื้นที่ยานชุมชน และเปน
               แนวทางเลือกที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุด
                                  แนวเสนทางที่ ๒ เอ (รูปภาพที่ ๑๘) นี้ จะตองมีการตัดผานพื้นที่ตําบลตาง ๆ จากทาเรือ

               นํ้าลึกปากบาราไปยังทาเรือสงขลาแหงที่ ๒ ไดแก ตําบลปากนํ้าและตําบลละงู อําเภอละงู ตําบลแประ

               อําเภอทาแพ ตําบลควนกาหลง และตําบลทุงนุย อําเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ตําบลเขาพระ ตําบลทาชะมวง
               และตําบลกําแพงเพชร อําเภอรัตภูมิ ตําบลฉลุง ตําบลทุงตําเสา ตําบลบานพรุ ตําบลคอหงสและตําบลทุงใหญ
               อําเภอหาดใหญ ตําบลพิจิตร อําเภอนาหมอม ตําบลจะโหนง ตําบลตลิ่งชัน และตําบลนาทับ อําเภอจะนะ จังหวัด

               สงขลา ทั้งหมดเปนเขตแนวใหมตลอดสายตัดผานทางรถไฟสายหาดใหญ–ปาดังเบซาร บริเวณตําบลบานพรุ

               อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา และตัดผานเสนทางรถไฟสายหาดใหญ–สุไหงโกลก บริเวณตําบลคอหงส
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129