Page 118 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง สิทธิชุมชนและผลกระทบโครงการพัฒนาภาคใต้
P. 118

รายงานการศึกษาวิจัย  ๙๙
                                                                 เรื่อง สิทธิชุมชน และผลกระทบจากโครงการพัฒนาภาคใต




                              ๗)   เหมืองแรและโรงไฟฟาถานหินสะบายอย
                                  นอกจากนี้ พื้นที่จังหวัดสงขลายังมีแหลงถานหินสะบายอยซึ่งมีขนาดใหญเปน
               อันดับสองของประเทศรองจากเหมืองแมเมาะ โดยมีปริมาณถานหินสํารอง ปริมาณ ๑๓๔.๗ ลานตัน แองสะบายอย

               ครอบคลุมพื้นที่อําเภอเทพา และอําเภอสะบายอย จังหวัดสงขลา รวมทั้งบางสวนของอําเภอโคกโพธิ์ จังหวัด

               ปตตานี ซึ่งการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยเปนผูไดรับสัมปทานทําเหมืองแรและวางแผนจะสรางโรงไฟฟา
               ถานหินในบริเวณพื้นที่ดังกลาวดวย แตไดรับการคัดคานจากชาวบานและชุมชนในพื้นที่มาโดยตลอด และครั้งลาสุด
               เมื่อป พ.ศ. ๒๕๕๒ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยไดพยายามรื้อฟนโครงการขึ้นมาใหมอีกครั้ง โดยไดมีการจาง

               นักวิชาการจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี เพื่อศึกษาทําความเขาใจผลดี ผลเสีย และรูปแบบ

               การพัฒนาแหลงหินลิกไนตสะบายอย แตชาวบานสวนใหญไดแสดงความไมเห็นดวยกับการที่จะดําเนินโครงการ
               ดังกลาว รวมทั้งยังไมยอมใหการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยเขาทําการศึกษาและจัดประชุมในพื้นที่


                      ๕.๓.๓  ประเด็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนจากกรณีศึกษาจังหวัดสงขลา
                              ๑)   สิทธิในการกําหนดอนาคตและเจตจํานงของตนเองและสิทธิในการพัฒนา

                                  โครงการพัฒนาตาง ๆ ในจังหวัดสงขลา นอกจากจะถูกวางแผนโดยกําหนดมาจากแผนพัฒนา
               ชายฝงทะเลภาคใตแลว ยังเปนผลมาจากการโครงการพัฒนาเศรษฐกิจ ๓ ฝาย ที่ศึกษาโดยองคการความรวมมือ

               ระหวางประเทศของญี่ปุนเชนกัน โดยธนาคารพัฒนาเอเชียที่มีประเทศญี่ปุนเปนผูถือหุนรายใหญ ไดแสดงออกและ
               สนับสนุนอยางชัดเจนที่จะผลักดันใหเกิดการเชื่อมตอทอพลังงานระหวางประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย

               เชนเดียวกับกรณีศึกษาในจังหวัดประจวบคีรีขันธและจังหวัดนครศรีธรรมราช จะเห็นไดวาชาวบานและชุมชน
               ทองถิ่นไมไดมีสิทธิในการกําหนดอนาคตของตนเองเลย โครงการขนาดใหญตาง ๆ ที่เปนกรณีรองเรียนของชาวบาน

               ลวนเปนโครงการที่เกี่ยวของสัมพันธกับหนวยงานภายนอก ทั้งในระดับตางประเทศและในประเทศเปนผูกําหนดทั้งสิ้น
               และเปนการละเมิดสิทธิในการกําหนดอนาคตและเจตจํานงของตนเองของชาวบานอยางเปนรูปธรรมชัดเจน โดยที่

               ประชาชนในจังหวัดก็ไมมีสิทธิไมมีเสียงในการบริหารจัดการและพัฒนาจังหวัดทองถิ่นของตนเองเลย รวมทั้ง
               การขออนุญาตดําเนินโครงการไมตรงไปตรงมา ชาวบานไมมีสวนรวมในการตัดสินใจการกําหนดทิศทางการพัฒนา

               ของชุมชนอยางแทจริง
                              ๒)   สิทธิในมาตรฐานการครองชีพ

                                  การดําเนินการโครงการพัฒนาภาคใตในจังหวัดสงขลา ทั้งโครงการทอสงกาซและ
               โรงแยกกาซไทย-มาเลเซีย โครงการโรงไฟฟาสงขลา (จะนะ) ๑ โครงการทาเรือนํ้าลึกสงขลา ๑ โครงการ

               แทนขุดเจาะนํ้ามัน ลวนแลวแตสงผลกระทบอยางชัดเจนตอการประกอบอาชีพตาง ๆ ของชาวบาน ทั้งชาวประมง
               พื้นบาน ชาวนา ชาวสวนยางพารา และเกษตรกร เชน การกอสรางทาเรือนํ้าลึกสงขลา ๑ ไดสงผลกระทบตออาชีพ

               ชาวประมงพื้นบาน โดยเฉพาะสัตวนํ้าตามธรรมชาติที่อาศัยอยูในทะเลสาบสงขลาไดลดลงและหายไป
               รวมทั้งการปลอยนํ้าอับเฉาและนํ้ามันรั่วไหลออกมาจากเรือที่สัญจรไปมาในทาเรือนํ้าลึกสงขลา ๑ สงผลใหปลาที่

               ชาวบานเลี้ยงในกระชังตาย มลพิษตาง ๆ ที่เกิดจากโรงไฟฟาจะนะ ไดแก นํ้าหลอเย็นที่ปลอยลงสูคลองนาทับก็มี
               ผลกระทบตอชาวบานที่ประกอบอาชีพการเลี้ยงปลาในกระชัง มลพิษทางอากาศทําใหเกิดบริเวณที่มีอากาศรอนจัด

               ทําใหผลผลิตของยางพาราของชาวบานที่มีสวนใกลกับโรงไฟฟาลดลง และอาชีพดั้งเดิมที่พึ่งพิงทรัพยากรธรรมชาติ
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123