Page 105 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 105
78 รายงานการศึกษาวิจัย
การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี
(1) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ควรกําหนดมาตรการที่ชัดเจนในการสนับสนุนการ
ดําเนินงานขององคกรเอกชนดานสิทธิมนุษยชน ตลอดจนเจาของปญหาที่ไดรับผลกระทบในการเลือกปฏิบัติและ
ละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเด็นดังกลาว โดยอาจพิจารณาแนวทางการสงเสริมสิทธิมนุษยชนในภาคประชาสังคม
ดวยการจัดตั้งกองทุนเพื่อสงเสริมการคุมครองสิทธิมนุษยชน รวมทั้งเสนอแนะไปยังรัฐบาลเพื่อใหมีการตั้งกองทุน
เพื่อสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนของผูติดเชื้อเอชไอวีผานคณะกรรมการแหงชาติวาดวยการปองกันและแกไข
ปญหาเอดส (คช.ปอ.) ทั้งนี้ เพื่อลดชองวางในการดําเนินงาน เพื่อคุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อ
เอชไอวีของภาครัฐ โดยยอมรับและสนับสนุนใหเกิดความรวมมือจากภาคประชาสังคม และเสริมความเขมแข็ง
ใหกับองคกรภาคประชาสังคมและเจาของปญหาใหมีสวนในการแกไขปญหาอยางยั่งยืน โดยถือเปนการใชอํานาจ
ตามมาตรา 257 (7) ตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 และมาตรา 24
แหงพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 176
(2) คณะกรรมการสิทธิมนุษชนแหงชาติ ตองใหความสําคัญกับการแกไขปญหาการเลือกปฏิบัติ
ในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีที่ตนเหตุ คือ การขาดความรูความเขาใจที่สําคัญในเรื่องการติดเชื้อเอชไอวี
และสิทธิของผูติดเชื้อเอชไอวี จึงจําเปนตองใหความสําคัญกับมาตรการสรางความรูความเขาใจเพื่อการแกไขปญหา
การละเมิดสิทธิ สงเสริมใหมีการสรางความรูความเขาใจตอสาธารณชน ในเรื่องการติดเชื้อเอชไอวี ความกาวหนา
ในการดูแลรักษาผูติดเชื้อเอชไอวี เพื่อเปนการขจัดมายาคติอันเปนสาเหตุสําคัญของการเลือกปฏิบัติ โดยในการ
รณรงคใหความรูเพื่อสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ควรผนวก
เนื้อหาที่ครอบคลุมถึงสิทธิมนุษยชนของผูติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งจําเปนตองรวมไปถึงการเสริมความรูเรื่องการติดเชื้อ
เอชไอวี ความกาวหนาในการดูแลรักษาผูติดเชื้อเอชไอวี และจําเปนตองใหความรูกับหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อใหมี
ความรูความเขาใจที่ถูกตองตอการคุมครองสิทธิมนุษยชนของผูติดเชื้อเอชไอวีดวย
(3) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ตองเรงดําเนินการตรวจสอบและเสนอมาตรการการ
แกไขโดยเร็ว ในกรณีที่มีขอรองเรียนเรื่องการเลือกปฏิบัติตอผูติดเชื้อเอชไอวี ไมวาจะเปนเรื่องการประกอบอาชีพ
หรือเรื่องการศึกษาซึ่งมีอิทธิพลตอการประกอบอาชีพในอนาคต เพื่อใหผูติดเชื้อเอชไอวีเขาถึงการคุมครอง
สิทธิมนุษยชนอยางรวดเร็ว และในกรณีที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติไมสามารถแกไขปญหาการเลือกปฏิบัติ
ในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อได ใหพิจารณาเสนอเรื่องไปยังกลไกในกระบวนการยุติธรรมตามบทบัญญัติ
ในรัฐธรรมนูญ ไดแก ศาลรัฐธรรมนูญ (มาตรา 257 (3)) หรือศาลปกครอง (มาตรา 257 (4)) ในกรณีที่เปนการ
177
ละเมิดสิทธิจากภาครัฐ เปนโจทกฟองคดีตอศาลยุติธรรมในกรณีที่เปนการละเมิดสิทธิในภาคเอกชน (มาตรา 257 (5))
176 ตามมาตรา 257 (7) แหงในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 บัญญัติอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนไว ดังนี้ “สงเสริม
ความรวมมือและการประสานงานระหวางหนวยราชการ องคการเอกชน และองคการอื่นในดานสิทธิมนุษยชน” และมาตรา 23-24 แหงพระราชบัญญัติ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 กลาวถึงบทบาทขององคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชนในฐานะกลไกการทํางานรวมกับคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแหงชาติ
177 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 257
“(2) เสนอเรื่องพรอมดวยความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่เห็นชอบตามที่มีผูรองเรียนวา บทบัญญัติแหงกฎหมายใดกระทบตอสิทธิมนุษยชนและ
มีปญหาเกี่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ
(3) เสนอเรื่องพรอมดวยความเห็นตอศาลปกครอง ในกรณีที่เห็นชอบตามที่มีผูรองเรียนวา กฎ คําสั่ง หรือการกระทําอื่นใดในทางปกครองกระทบตอสิทธิมนุษยชน
และมีปญหาเกี่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
(4) ฟองคดีตอศาลยุติธรรมแทนผูเสียหาย เมื่อไดรับการรองขอจากผูเสียหายและเปนกรณีที่เห็นสมควรเพื่อแกไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนเปน
สวนรวม
ฯลฯ
ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ”