Page 106 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 106

รายงานการศึกษาวิจัย  79
                                                             การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี



               หรือเปนโจทกรวมฟองคดีกับผูเสียหาย เพื่อสรางบรรทัดฐานการไมเลือกปฏิบัติและการคุมครองสิทธิในการ
               ประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีในอนาคต

                             (4) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ควรเสนอแนะใหรัฐบาล โดยกระทรวงแรงงานใหความ
               สําคัญกับประเด็นการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี มีการรณรงคใหสาธารณชนเห็นความ

               สําคัญของปญหาการเลือกปฏิบัติมากขึ้น ตลอดจนผลักดันใหมาตรการปองกันการเลือกปฏิบัติที่มีอยูเกิดผลในทาง
               ปฏิบัติ โดยเฉพาะแนวปฏิบัติแหงชาติวาดวยการปองกันและบริหารจัดการดานเอดสในสถานที่ทํางานของ คช.ปอ.

               และแนวปฏิบัติการปองกันและจัดการดานเอดสในสถานประกอบกิจการของกระทรวงแรงงาน ทั้งนี้ เปนไปตาม
               บทบัญญัติเรื่องการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนตามมาตรา 28 (2) แหงพระราชบัญญัติคณะกรรมการ

                                             178
               สิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542  ตลอดจนควรสงเสริมใหมีการเจรจาแบบไตรภาคีเพื่อหาขอตกลงรวมและ
               แนวปฏิบัติเพื่อการขจัดการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพและการสงเสริมการคุมครองสิทธิกลุมผูติดเชื้อเอชไอวี

               ในสวนของนโยบายการจางงานของสถานประกอบการตางๆ ทั้งนี้ เปนไปตามอํานาจหนาที่ตามบทบัญญัติแหง
               รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 257 (7)  โดยใหความสําคัญกับประเด็น
                                                                               179
               ดังตอไปนี้
                                -   มาตรการปองกันการแพรระบาดของเชื้อ เชน การใหขอมูลความรูที่ถูกตองตอแรงงาน

                                -   มาตรการคุมครองการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพและการละเมิดสิทธิ เชน การ
               ปกปดขอมูลสวนบุคคล การจัดบริการที่จําเปนตอกลุมผูอาศัยอยูรวมกับเชื้อเอชไอวี การจัดที่พักและรูปแบบ

               การทํางานที่เหมาะสม
                                -   มาตรการเยียวยาและฟนฟู เชน คาชดเชย การเกษียณกอนเวลา เปนตน

                                ทั้งนี้ รวมไปถึงมาตรฐาน ASO Thailand ที่ยังไมมีแรงจูงใจใหนายจางเขารวมโครงการ
               จําเปนตองเสนอแนะใหหนวยงานรับผิดชอบ ไดแก กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน กรมควบคุมโรค และ

               สมาคมแนวรวมธุรกิจไทยตานภัยเอดส ดําเนินงานรวมกับผูมีสวนไดสวนเสียโดยตรง โดยเฉพาะฝายลูกจาง หรือ
               ผูติดเชื้อเอชไอวีใหเขามามีบทบาทในการรวมผลักดันใหมากขึ้น

                             (5) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ควรเสนอแนะใหหนวยงานภาครัฐที่มีอํานาจหนาที่
               ในเรื่องการคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน ไมวาจะเปนสิทธิในการประกอบอาชีพ หรือสิทธิมนุษยชนในภาพรวม

               เชน กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ และกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ
               สรางความรูความเขาใจที่ถูกตองในเรื่องเชื้อเอชไอวี/โรคเอดส เพื่อใหองคกรเหลานี้สามารถคุมครองสิทธิของ

               ประชาชนและผูติดเชื้อไดอยางแทจริง
                             (6) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติควรเสนอแนะใหกระทรวงสาธารณสุข และหนวยงานอื่น

               ที่เกี่ยวของ ดําเนินการบังคับใชกฎหมายคุมครองสิทธิของผูติดเชื้อเอชไอวีจากกฎหมายที่มีอยูแลวอยางเครงครัด
               เชน ใชกลไกตามพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541 กับสถานบริการทางการแพทยที่มีบริการตรวจหาเชื้อ

               เอชไอวีและเปดเผยผลการตรวจตอผูอื่น เปนตน





               178  พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 28 (2) “ในการกําหนดมาตรการการแกไขปญหาละเมิดสิทธิมนุษยชนตามวรรคหนึ่ง
                 คณะกรรมการอาจกําหนดใหบุคคลหรือหนวยงานดําเนินการตามอํานาจหนาที่ดวยวิธีใดที่เห็นเหมาะสม เพื่อปองกันมิใหมีการละเมิดสิทธิมนุษยชนในลักษณะ
                 ทํานองเดียวกันอีกได”
               179  รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 257 (7) “สงเสริมความรวมมือและการประสานงานหนวยราชการ องคการเอกชน และองคการ
                 อื่นในดานสิทธิมนุษยชน”output
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111