Page 88 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 88

รายงานการศึกษาวิจัย  73
                                        เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





                                                          บทที่ 4


                           คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติกับการตรวจสอบการกระทํา

                               อันเปนการแทรกแซงสิทธิในความเปนอยูสวนตัวของบุคคล


                        ในสวนนี้ คณะผูวิจัยจะไดทําการศึกษาอํานาจหนาที่และการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการ
               สิทธิมนุษยชนแหงชาติ และการตรวจสอบของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเกี่ยวกับการกระทําอันเปน

               การแทรกแซงสิทธิในความเปนอยูสวนตัวของบุคคล ตามลําดับ


               4.1 อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                        4.1.1   อํานาจหนาที่ตามรัฐธรรมนูญ

                              รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เปนรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศไทย
               ที่ไดกอใหเกิดคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ โดยมาตรา 200 แหงรัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวไดกําหนดให

               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมีอํานาจหนาที่ในการตรวจสอบและรายงานการกระทําหรือละเลยการกระทํา
               อันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือไมเปนไปตามพันธกรณีระหวางประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทย

               เปนภาคี และเสนอมาตรการการแกไขที่เหมาะสมตอบุคคลหรือหนวยงานที่กระทําหรือละเลยการกระทําดังกลาว
               เพื่อใหดําเนินการแกไข หากไมมีการดําเนินการแกไข คณะกรรมการตองรายงานตอรัฐสภาเพื่อใหรัฐสภา

               ดําเนินการตอไป นอกจากคณะกรรมการจะมีอํานาจในการตรวจสอบและรายงานการกระทําดังกลาวแลว
               ยังมีอํานาจหนาที่ในการเสนอแนะนโยบาย และขอเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย กฎ หรือขอบังคับตอรัฐสภา

               และคณะรัฐมนตรี เพื่อสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนดวย
                              ตอมาเมื่อรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 257 ไดบัญญัติเพิ่ม

               อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ โดยใหม ีอํานาจหนาที่ฟองคดีตอศาลยุติธรรมแทนผูเสียหาย
               เมื่อไดรับการรองขอจากผูเสียหายและเปนกรณีที่เห็นสมควรเพื่อแกไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนเปนสวนรวม

               ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
                              ในสวนที่เกี่ยวกับสิทธิในความเปนอยูสวนตัวของบุคคลซึ่งเปนสิทธิมนุษยชนประการหนึ่ง

               สิทธิดังกลาวไดรับการรับรองและคุมครองไวตามมาตรา 35 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย โดยนัยเชนนี้
               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติยอมมีอํานาจหนาที่ที่จะกํากับดูแลมิใหมีการละเมิดสิทธิในความเปนอยู

               สวนตัวของบุคคล
                        4.1.2   อํานาจหนาที่ตามพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542

                              ตามพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 คณะกรรมการ
               สิทธิมนุษยชนแหงชาติมีอํานาจหนาที่ในการสงเสริมการเคารพและการปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชน ทั้งในระดับ

               ประเทศและระหวางประเทศ และโดยเฉพาะอยางยิ่งการตรวจสอบการกระทําหรือการละเลยการกระทําอันเปน
               การละเมิดสิทธิมนุษยชน หรืออันไมเปนไปตามพันธกรณีระหวางประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทย
                                                                                                           83
               เปนสําคัญ


               83  มาตรา 15 พระราชบัญญัติ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93