Page 94 - คู่มือการทำความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
P. 94
92 คู่มือ การทำาความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
…ทำาให้แน่ใจกว่ามีกลไกการชดเชย v รัฐต้องรับประกันว่าจะมีการชดใช้เยียวยาแก่ปัจเจกบุคคลที่
จากการถูกเมิดนั้น ถูกละเมิดสิทธินั้น ซึ่งวิธีการแก้ไขรวมไปถึงชดใช้ค่าเสียหาย
การกล่าวขอโทษต่อหน้าสาธารณชน การสร้างอนุสรณ์
สถานสาธารณะ การรับประกันว่าจะไม่มีการกระทำาผิด
ซ้ำาอีก การเปลี่ยนแปลงกฎหมายและแบบปฏิบัติ รวมทั้ง
การนำาผู้กระทำาผิดเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม
กฎหมายระหว่างประเทศ
ICCPR: ข้อ ๒ ข้อ ๔
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
ม�ตร� ๔ คุ้มครองศักดิ์ศรีคว�มเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภ�พและคว�มเสมอภ�คของประช�ชน
ม�ตร� ๖ กฎหม�ย กฎ และระเบียบปฏิบัติที่ขัดกับรัฐธรรมนูญที่เป็นกฎหม�ยสูงสุดถือว่�บังคับใช้มิได้
ม�ตร� ๒๖ ก�รใช้อำ�น�จโดยองค์กรของรัฐทุกองค์กร ต้องคำ�นึงถึงศักดิ์ศรีคว�มเป็นมนุษย์ สิทธิและเสรีภ�พต�ม
บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
ม�ตร� ๒๗ องค์กรรัฐทุกภ�คส่วนที่มีข้อผูกพันโดยหลักสิทธิและเสรีภ�พที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรนูญต้องคำ�นึงถึง
สิทธิและเสรีภ�พดังกล่�วเสมอขณะที่ทำ�ก�รตร�กฎหม�ย บังคับใช้กฎหม�ยและตีคว�มกฎหม�ยทั้งปวง
ม�ตร� ๒๘ บุคคลที่ถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภ�พส�ม�รถยกบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้เพื่อใช้สิทธิท�งศ�ลหรือยก
ขึ้นเป็นข้อต่อสู้คดีในศ�ลได้
ม�ตร� ๒๘ รัฐมีพันธกรณีในก�รเสริมสร้�ง สนับสนุนและให้ก�รช่วยเหลือประช�ชนทุกๆ คนให้ได้ใช้สิทธิเสรีภ�พ
ของตน
………………………………………………………………………………………………..................................................
ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (ASEAN Human Rights Declaration)
ข้อ ๖ ก�รใช้สิทธิมนุษยชนและเสรีภ�พขั้นพื้นฐ�นต้องสมดุล กับก�รปฏิบัติหน้�ที่ที่สอดคล้องกัน เนื่องจ�กบุคคล
ทุกคนมี คว�มรับผิดชอบต่อทุกปัจเจกบุคคลอื่นๆ ทั้งหมด ชุมชนและ สังคมที่ตนอ�ศัยอยู่ ในท้�ยที่สุด คว�มรับผิดชอบ
หลักในก�ร ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภ�พขึ้นพื้นฐ�นทั้งปวง อยู่ที่รัฐสม�ชิกอ�เซียนทุกรัฐ
ข้อ ๗ สิทธิมนุษยชนทั้งมวล มีคว�มเป็นส�กล ไม่อ�จแบ่งแยกได้ เชื่อมโยงและสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน สิทธิมนุษยชน
และเสรีภ�พ ขั้นพื้นฐ�นทั้งมวลในปฏิญญ�นี้ต้องได้รับก�รปฏิบัติอย่�ง เป็นธรรม เสมอภ�ค อยู่บนพื้นฐ�นเดียวกันและ
มีคว�มสำ�คัญเท่�เทียมกัน ในขณะเดียวกัน ก�รบรรลุสิทธิมนุษยชนต้องได้รับก�รพิจ�รณ�ในบริบทของภูมิภ�คและ
ของประเทศโดยคำ�นึงถึง คว�มแตกต่�งของภูมิหลังท�งก�รเมือง เศรษฐกิจ กฎหม�ย สังคม วัฒนธรรม ประวัติศ�สตร์
และศ�สน�
ข้อ ๘ สิทธิมนุษยชนและเสรีภ�พขั้นพื้นฐ�นของบุคคลทุกคนจะ ต้องใช้โดยคำ�นึงถึงสิทธิมนุษยชนและเสรีภ�พขั้น
พื้นฐ�นของบุคคลอื่น สิทธิมนุษยชนและเสรีภ�พขั้นพื้นฐ�นจะอยู่ภ�ยใต้ ข้อจำ�กัดเพียงเท่�ที่กำ�หนดไว้ต�มกฎหม�ย
เฉพ�ะเพื่อวัตถุประสงค์ ของก�รได้ม�ซึ่งก�รยอมรับสิทธิมนุษยชนและเสรีภ�พขั้นพื้นฐ�น ของผู้อื่นและเพื่อให้สอดรับ
กับคว�มจำ�เป็นต�มเหตุผลในเรื่อง คว�มมั่นคงของช�ติ คว�มสงบเรียบร้อยของส�ธ�รณะ ส�ธ�รณสุข คว�มปลอดภัย
ของส�ธ�รณะ ศีลธรรมอันดีของประช�ชน รวมทั้ง สวัสดิก�รทั่วไปของประช�ชนในสังคมประช�ธิปไตย
ข้อ ๙ ก�รบรรลุสิทธิมนุษยชนและเสรีภ�พต�มที่บัญญัติใน ปฏิญญ�ฉบับนี้ ควรยึดมั่นในหลักก�รคว�มไม่ลำ�เอียง
ภ�วะวิสัย ก�รไม่เลือกฝ่�ย ก�รไม่เลือกประติบัติ ก�รไม่เผชิญหน้� และก�รหลีกเลี่ยง ทวิม�ตรฐ�น และก�รหลีกเลี่ยง
ก�รทำ�ให้เป็น ประเด็นท�งก�รเมือง อยู่เสมอ กระบวนก�รบรรลุสิทธิมนุษยชน และเสรีภ�พดังกล่�วต้องคำ�นึงถึงก�รมี
ส่วนร่วมของประช�ชน คว�มครอบคลุมทุกภ�คส่วน และคว�มจำ�เป็นของหลัก คว�มพร้อมรับผิดชอบ