Page 89 - คู่มือการทำความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
P. 89
คู่มือ การทำาความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง 87
DDD
ประเทศไทยได้เข้�สู่กระบวนก�รทบทวนสถ�นก�รณ์สิทธิมนุษยชน (UPR)
ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ (ค.ศ. ๒๐๑๑)
เอกส�รร�ยละเอียดกระบวนก�รทบทวนในครั้งนั้น
ส�ม�รถดูร�ยละเอียดเพิ่มเติมได้ที่:
http://www.ohchr.org/EN/HRBodies/UPR/Pages/THSession12.aspx
DDD
๒.๒
ผู้เชี่ยวช�ญด้�นสิทธิมนุษยชนร�ยประเด็นและร�ยประเทศ (กลไกพิเศษ)
กลไกพิเศษสร้างขึ้นโดยองค์การสหประชาชาติเพื่อตรวจสอบสถานการณ์พิเศษในบางประเทศ
หรือประเด็นพิเศษ ในมุมมองสิทธิมนุษยชน กลไกนี้ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญเป็นรายบุคคล หรือ
คณะทำางานซึ่งตามธรรมดามีจำานวน ๕ คน ผู้เชี่ยวชาญอาจเป็นผู้พิพากษาชั้นสูงที่ยังดำารงตำาแหน่ง
หรือผู้พิพากษาที่เกษียณอายุแล้ว นักวิชาการ นักกฎหมาย นักเศรษฐศาสตร์ คนที่ทำางาน หรือเคย
ทำางานกับองค์กรพัฒนาเอกชน (NGO) และอดีตพนักงานองค์การสหประชาติอาวุโส
หน้าที่ของผู้เชี่ยวชาญ คือ การทำาศึกษาวิจัย ประเด็นข้อกังวลของประเทศที่ตนรับผิดชอบ
รวมถึงเดินทางไปเยือนประเทศนั้น เพื่อรับและพิจารณาข้อมูลประเด็นปัญหาจากเหยื่อการละเมิด
สิทธิมนุษยชน และเข้าติดต่อเชื่อมโยงกับรัฐบาลแทนเขา ในบางกรณีผู้เชี่ยวชาญจะเสนอแนะโครงการ
ความร่วมมือทางเทคนิคต่างๆ
รายงานของผู้เชี่ยวชาญจะเน้นย้ำาถึงสถานการณ์ที่กังวล โดยจะมีส่วนวิเคราะห์ที่มีประโยชน์
กับสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศหรือในประเด็นนั้นๆ รายงานของผู้เชี่ยวชาญนำาเสนอต่อเวที
นานาชาติ ประเด็น เช่น ปฏิบัติการรุนแรงโหดร้ายของตำารวจ การวิสามัญฆาตกรรม บทบาทของ
ผู้กระทำาการที่ไม่ใช่ภาครัฐในการละเมิดสิทธิมนุษยชน เช่น ภาคธุรกิจองค์การก่อการร้าย การตาม
รังควานกลุ่มชาติพันธุ์ส่วนน้อยในสังคม เป็นต้น
รายชื่อผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิมนุษยชนรายประเด็น และการติดต่อ:
http://www.ohchr.org/EN/HRBodies/SP/Pages/Themes.aspx
รายชื่อผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิมนุษยชนรายประเทศ และการติดต่อ:
http://www.ohchr.org/EN/HRBodies/SP/Pages/Countries.aspx