Page 40 - คู่มือการทำความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
P. 40
38 คู่มือ การทำาความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
ช่องท�งก�รใช้กลไกศ�ลรัฐธรรมนูญ เพื่อปกป้องสิทธิเสรีภ�พของประช�ชน
ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๑๒ ได้บัญญัติช่องทางการ
ใช้กลไกศาลรัฐธรรมนูญของประชาชน หากประชาชนถูกละเมิดสิทธิเสรีภาพสามารถยื่นคำาร้องต่อศาล
รัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญได้ ซึ่งการใช้สิทธิยื่น
คำาร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญนั้นต้องเป็นกรณีที่ไม่อาจใช้สิทธิด้วยวิธีการอื่นได้แล้ว
การยื่นคำาร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญสามารถกระทำาได้ภายใต้กรอบอำานาจหน้าที่ของศาล
รัฐธรรมนูญโดยมีวิธีการและเงื่อนไข การใช้ช่องทางกลไกศาลรัฐธรรมนูญ สามารถส่งคำาร้องได้ผ่าน
เงื่อนไข วิธีการและผู้มีสิทธิยื่นคำาร้องได้ ตารางนี้ได้คัดลองบางส่วนจากบทความ “การใช้สิทธิต่อศาล
๑๑
รัฐธรรมนูญ” ดังต่อไปนี้
ตารางที่ ๒.๑ แสดงช่องทางการใช้กลไกศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อปกป้องสิทธิเสรีภาพของประชาชน
ประเด็นปัญหา ผู้มีสิทธิยื่นคำาร้อง วิธีการและเงื่อนไข
การวินิจฉัยความชอบด้วย - ศาลยุติธรรม - ศาลเห็นเองหรือคู่ความโต้แย้งพร้อมด้วยเหตุผล
รัฐธรรมนูญของบทบัญญัติแห่ง - ศาลปกครอง ว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ศาลจะใช้บังคับแต่
กฎหมายที่ประกาศใช้บังคับแล้ว - ศาลทหาร คดีขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ
(๑) การพิจารณาวินิจฉัยว่า - ต้องมีคดีเกิดขึ้นในศาลแล้ว และศาลจะใช้
บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ศาล กฎหมายที่อาจจะขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ
จะใช้บังคับแก่คดีขัดหรือแย้งต่อ บังคับแก่คดี
รัฐธรรมนูญหรือไม่ (มาตรา ๒๑๑) - เป็นกฎหมายระดับพระราชบัญญัติ ได้แก่
พระราชกำาหนด และพระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนูญ
- ยังไม่มีคำาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในส่วนที่
เกี่ยวกับบทบัญญัตินั้นมาก่อน
- คำาโต้แย้งของคู่ความมีสาระอันควรได้รับการ
วินิจฉัย
- ให้ส่งความเห็นเช่นว่านั้นตามทางการเพื่อศาล
รัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัย
- ให้ศาลดำาเนินการพิจารณาต่อไป แต่ให้รอการ
พิพากษาคดีไว้ชั่วคราว จนกว่าจะมีคำาวินิจฉัย
ของศาลรัฐธรรมนูญ
๑๑ http://www.constitutionalcourt.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=334&Itemid=282&lang
=thindex.php