Page 38 - คู่มือการทำความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
P. 38
36 คู่มือ การทำาความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
๑. ศ�ล
ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาญาจักรไทยปี พ.ศ.๒๕๕๐ หมวด๑๐ได้อธิบายอำานาจหน้าที่และราย
ละเอียดขององค์กรศาล กล่าวคือ ตามมาตรา๑๙๗ อำานาจหน้าที่ของศาล คือการพิจารณาพิพากษา
อรรถคดีเป็นอำานาจของศาลซึ่งต้องดำาเนินการให้เป็นไปโดยยุติธรรม ตามรัฐธรรมนูญ ตามกฎหมาย
และในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์
ศาลในประเทศไทยประกอบด้วย ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง และศาลทหาร
ในหัวข้อนี้จะอธิบายถึงอำานาจหน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม และศาลปกครอง
๑.๑
ศ�ลรัฐธรรมนูญ
คือ องค์กรศาลตามรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช ๒๕๕๐ ในมาตรา ๒๐๔ ศาลรัฐธรรมนูญมี
องค์ประกอบ คือ ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ๑ คน และตุลาการศาลรัฐธรรมนูญอื่นอีก ๘ คน ซึ่ง
พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำาแนะนำาของวุฒิสภา
อำ�น�จหน้�ที่
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ได้กำาหนดให้ศาลรัฐธรรมนูญมีอำานาจ
๑๐
หน้าที่ในการพิจารณาวินิจฉัยคดีรัฐธรรมนูญ ซึ่งอาจแบ่งได้เป็น ๙ ประเภท คือ
(๑) การวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของร่างกฎหมาย และร่างข้อบังคับการประชุมของ
ฝ่ายนิติบัญญัติก่อนที่จะประกาศใช้บังคับมิให้ชัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ
(๒) การวิจิฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายที่ประกาศใช้บังคับแล้วมิให้ขัดหรือแย้ง
ต่อรัฐธรรมนูญ
(๓) การวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของเงื่อนไขการตราพระราชกำาหนดมิให้ขัดหรือ
แย้งต่อรัฐธรรมูญ
(๔) การวินิจฉัยว่าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือกรรมาธิการ กระทำาการใด
เพื่อให้ตนมีส่วนโดยตรงหรือโดยอ้อมในการใช้งบประมาณรายจ่าย หรือไม่
๑๐ http://www.constitutionalcourt.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=153&Itemid=83&lang=
thindex.php