Page 103 - คู่มือการทำความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
P. 103
คู่มือ การทำาความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง 101
ลักษณะพันธกรณีของรัฐ
รัฐต้องปฏิบัติการต่อต้านบุคคล- เพื่อให้แน่ใจว่ามีการปกป้องสิทธิข้อนี้ รัฐจะต้องทำาให้แน่ใจว่า
แม้ว่าอยู่ในขณะกำาลังปฏิบัติหน้าที่ บุคคลที่ทำาการละเมิดสิทธิดังกล่าวได้ถูกพิจารณาไต่สวน
โดยกระบวนการยุติธรรม โดยรัฐจะต้องขจัดอุปสรรคที่ขัดขวาง
การกำาหนดความรับผิดชอบทางกฎหมาย เช่น ตำาแหน่งหน้าที่
ทางราชการของผู้ถูกกล่าวหา หรือข้อแก้ตัวโดยอ้างความจำาเป็น
ว่า “กระทำาตามคำาสั่งผู้บังคับบัญชา”
การวิสามัญฆาตกรรมโดยฝ่ายที่ ผู้รายงานพิเศษเกี่ยวกับการวิสามัญฆาตกรรมได้ระบุพันธะ
ไม่ใช่รัฐ/เอกชน… หน้าที่ของรัฐในกรณีที่ผู้กระทำาการวิสามัญฆาตกรรมเป็น
๒๗
ตัวแสดงที่ไม่ใช่ ไว้ดังนี้
…หน้าที่โดยตรงเมื่อฝ่ายที่ไม่ใช่รัฐ/ v รัฐมีความรับผิดชอบโดยตรงต่อการกระทำาของตัวแสดง
เอกชนกระทำาการใดๆตาม ที่ไม่ใช่รัฐแต่เป็นผู้ดำาเนินการต่างๆ ตามคำาสั่งของรัฐหรือ
แนวทาง … การเห็นพ้องของรัฐ ตัวอย่างเช่น กลุ่มพลเรือนติดอาวุธ
กลุ่มกำาลังรบกึ่งทหาร กลุ่มล่าสังหารที่ควบคุมโดยรัฐ
หน้าที่รับผิดชอบโดยตรงเมื่อผู้ที่ v รัฐมีความรับผิดชอบโดยตรงต่อการกระทำาของหน่วย
ไม่ใช่ฝ่ายรัฐ/เอกชน กระทำาการ งานเอกชนที่ให้บริการตามการว่าจ้าง (ด้านการทหาร
เช่น การบังคับใช้กฎหมาย หรือความปลอดภัย) รวมถึงองค์กรและที่ปรึกษา
ทั้งหลายที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมหลักของรัฐ เช่น การ
บริหารจัดการเรือนจำา การบังคับใช้กฎหมาย หรือการ
ไต่สวน
…พยายามทำาหน้าที่เมื่อมีรูปแบบ v ในกรณีส่วนใหญ่ การฆาตกรรมที่เป็นการกระทำาของ
ของการฆ่าโดยฝ่ายผู้ที่ไม่ใช่รัฐ/ บุคคลทั่วไป ถือเป็นความผิดที่อยู่ภายใต้กฎหมายอาญา
เอกชน ของประเทศ อย่างไรก็ดี หากการฆาตกรรมนั้นเกิดขึ้น
ซ้ำาๆ อย่างมีรูปแบบ โดยที่รัฐไม่ใช้ความระมัดระวังตาม
สมควรในการหามาตรการที่เหมาะสมเพื่อขัดขวางป้องกัน
สอบสวน ดำาเนินคดี และลงโทษผู้ก่อการ ก็ถือว่าการที่
รัฐละเลย หรือความไม่เพียงพอของผลการตอบสนอง
ในการละเมิดสิทธิที่จะมีชีวิต ตัวอย่างของการฆาตกรรม
ดังกล่าวสามารถฆ่าโดยกลุ่มศาลเตี้ยหรือการฆาตกรรม
โดยแก๊งอาชญากร
๒๗ E/CN.4/2005/7, para 65-76