Page 100 - คู่มือการทำความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
P. 100
98 คู่มือ การทำาความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
DDD
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
ม�ตร� ๕ ประช�ชนช�วไทยไม่ว่�เหล่�กำ�เนิด เพศ หรือศ�สน�ใด ย่อมอยู่ในคว�มคุ้มครองแห่งรัฐธรรมนูญนี้
เสมอกัน
ม�ตร� ๓๐ บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหม�ยและได้รับคว�มคุ้มครองต�มกฎหม�ยเท่�เทียมกัน ช�ยและหญิงมี
สิทธิเท่�เทียมกัน ก�รเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพร�ะเหตุแห่งคว�มแตกต่�งในเรื่องถิ่นกำ�เนิด
เชื้อช�ติ ภ�ษ� เพศ อ�ยุคว�มพิก�ร สภ�พท�งก�ยหรือสุขภ�พ สถ�นะของบุคคล ฐ�นะ ท�งเศรษฐกิจหรือ
สังคม คว�มเชื่อท�งศ�สน� ก�รศึกษ�อบรม หรือคว�มคิดเห็นท�งก�รเมือง อันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่ง
รัฐธรรมนูญ จะกระทำ�มิได้
ม�ตร� ๔๙ บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในก�รรับก�รศึกษ�
ม�ตร� ๕๑ บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในก�รรับบริก�รท�งส�ธ�รณสุขที่เหม�ะสมและได้ม�ตรฐ�น
DDD
ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (ASEAN Human Rights Declaration)
ข้อ ๑ บุคคลทั้งปวงเกิดม�มีอิสระและเสมอภ�คกันในศักดิ์ศรี และสิทธิ มีเหตุผลและมโนธรรมและควรปฏิบัติ
ต่อกันด้วย จิตวิญญ�ณแห่งคว�มเป็นมนุษย์
ข้อ ๒ บุคคลทุกคนย่อมมีสิทธิและเสรีภ�พทั้งปวงต�มที่กำ�หนดไว้ในปฏิญญ�นี้ โดยปร�ศจ�กก�รแบ่งแยก
ไม่ว่�ชนิดใดๆ อ�ทิ เชื้อช�ติ เพศสภ�พ อ�ยุ ภ�ษ� ศ�สน� คว�มคิดเห็นท�ง ก�รเมืองหรือท�งอื่น พื้นเพ
ท�งช�ติหรือสังคม สถ�นะท�งเศรษฐกิจ ก�รเกิด คว�มพิก�ร หรือสถ�นะอื่น
ข้อ ๓ บุคคลทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับก�รยอมรับทุกแห่งหนว่�เป็นบุคคลต�มกฎหม�ย บุคคลทุกคนเสมอภ�ค
กันต�มกฎหม�ย บุคคลทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับคว�มคุ้มครองของกฎหม�ย เท่�เทียมกัน โดยไม่มีก�รเลือก
ประติบัติ
ข้อ ๔ สิทธิของสตรี เด็ก ผู้สูงอ�ยุ ผู้พิก�ร แรงง�นโยกย้�ยถิ่นฐ�น กลุ่มเปร�ะบ�งและกลุ่มคนช�ยขอบ
เป็นสิทธิที่ไม่อ�จเพิกถอน และเป็นส่วนเดียวกันของสิทธิมนุษยชนและเสรีภ�พขั้นพื้นฐ�นที่ไม่อ�จแยก
ออกจ�กกันได้
ข้อ ๕ บุคคลทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับก�รเยียวย�ที่มีประสิทธิผล และมีผลบังคับต�มที่กำ�หนดโดยศ�ลหรือ
องค์กรอื่นที่มีอำ�น�จ จ�กก�รกระทำ�อันละเมิดต่อสิทธิที่บุคคลนั้นได้รับต�มรัฐธรรมนูญ หรือกฎหม�ย
ข้อ ๖ ก�รใช้สิทธิมนุษยชนและเสรีภ�พขั้นพื้นฐ�นต้องสมดุล กับก�รปฏิบัติหน้�ที่ที่สอดคล้องกัน เนื่องจ�ก
บุคคลทุกคนมีคว�มรับผิดชอบต่อทุกปัจเจกบุคคลอื่นๆ ทั้งหมด ชุมชนและสังคมที่ตนอ�ศัยอยู่ ในท้�ยที่สุด
คว�มรับผิดชอบหลักในก�รส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภ�พขึ้นพื้นฐ�นทั้งปวงอยู่ที่รัฐ
สม�ชิกอ�เซียนทุกรัฐ
ข้อ ๒๙ (๒) รัฐสม�ชิกอ�เซียนจะต้องสร้�งสภ�พแวดล้อมที่ดีใน ก�รเอ�ชนะก�รตีตร� ก�รนิ่งเงียบ ก�รปฏิเสธ
และก�รเลือกประติบัติในก�รป้องกัน ก�รรักษ� ก�รดูแล และก�รสนับสนุน บุคคลที่ทุกข์ทรม�นจ�ก
โรคติดต่อต่�งๆ ซึ่งรวมถึงเอชไอวี/เอดส์
DDD