Page 49 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 49
48
รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง
การจัดทำาตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
หม�ยเลข เรื่อง ปี ค.ศ. ที่รับรอง
๗ ข้อ ๗ การห้ามการทรมาน หรือการกระทำา หรือการลงโทษที่โหดร้าย ๒๕๒๕
ไร้มนุษยธรรม หรือย่ำายีศักดิ์ศรี
๖ ข้อ ๖ สิทธิในชีวิต ๒๕๒๕
๕ ข้อ ๔ การพักใช้พันธกรณีของรัฐชั่วคราว ๒๕๒๔
๔ ข้อ ๓ ความเสมอภาคของหญิงชาย ในการเข้าถึงสิทธิพลเมืองและสิทธิ ๒๕๒๔
ทางการเมือง
๓ ข้อ ๒ การดำาเนินการในระดับชาติ ๒๕๒๔
๒ แนวทางในการนำาเสนอรายงาน ๒๕๒๔
๑ พันธกรณีในการนำาเสนอรายงาน ๒๕๒๔
ที่มา http://www.ohchr.org/english/bodies/hrc/comments.htm
๓.๑.๔.๑ ข้อคิดเห็นร่วมอันสำ�คัญของคณะกรรมก�รประจำ�กติก�ระหว่�งประเทศ
ว่�ด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิท�งก�รเมือง
นับตั้งแต่คณะกรรมการประจำากติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและ
สิทธิทางการเมือง (The Human Rights Committee) ได้เริ่มดำาเนินงานใน ค.ศ. ๑๙๗๖ (พ.ศ. ๒๕๑๙)
จนถึงปัจจุบัน (ธันวาคม ๒๕๕๕) คณะกรรมการฯ ได้จัดทำาข้อคิดเห็นร่วมอันสำาคัญ (General
Comments) จำานวน ๓๔ ฉบับ
ความเห็นทั่วไปทั้ง ๓๔ ฉบับ ของกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและ
สิทธิทางการเมือง ถือเป็นการพัฒนาเกณฑ์ และมาตรฐานในการปฏิบัติให้เป็นไปตามพันธกรณีตาม
กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ซึ่งประเทศภาคีของกติการะหว่าง
ประเทศจะได้ทำาความเข้าใจในความหมายและขอบเขตของบทบัญญัติในกติการะหว่างประเทศ
ตลอดจนให้คำาอรรถาธิบายสาระสำาคัญ และประเด็นปัญหาทั่วไปที่อาจเกิดขึ้นได้ในกระบวนการ
ดำาเนินการให้เกิดความชัดเจนยิ่งขึ้น
คณะผู้ศึกษาได้สรุปเนื้อหาสาระเฉพาะส่วนที่เชื่อมโยงกับสาระแห่งสิทธิและ
พันธะหน้าที่ของรัฐ ไว้ดังต่อไปนี้ เพื่อแสดงให้เห็นว่า การวิเคราะห์พันธะหน้าที่ของรัฐและกำาหนด
ตัวชี้วัดสามประเภท ตั้งอยู่บนพื้นฐานของข้อคิดเห็นร่วมอันสำาคัญ
• ข้อคิดเห็นร่วมอันสำ�คัญ ลำ�ดับที่ ๖ (๑๙๘๒) ข้อ ๖ “สิทธิในชีวิต” ๕๗
- รัฐมีหน้าที่ต้องป้องกันการโฆษณาชวนเชื่อให้เกิดสงคราม และการล้าง
เผ่าพันธุ์ ๕๘
๕๗ Committee on Civil and Political Rights, General Comment No. 06: “The right to life (art. 6)” Adopted on. 30/04/1982
๕๘ ibid. para. 2