Page 28 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 28

ั
               2.3 ขั้นตอนการติดตามผลการแก้ไขปญหา

                                                                    ขั้นตอนการติดตามผลการแก้ไขปัญหา
                                    ปัญหา                                                                     แนวทางแก้ไข

            1)  หน่วยงานยังขาดกระบวนการติดตามผลที่เต็มเม็ดเต็มหน่วย       1.  โครงสร้างทีมติดตาม

            2)  รูปแบบการติดตามเป็นการส่งเรื่องต่อ ท าให้มีความล าบากในการ    1)  ทีมติดตามควรเป็นทีมเดียวกับที่ท าหน้าที่ตรวจสอบ เพราะมีความเข้าใจรูปเรื่อง ประเด็นการตรวจสอบ
               ติดตาม (ไม่ได้เป็นคนด าเนินการตั้งแต่แรก) เนื่องจากหลายเหตุผล     แนวทางการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ ดีกว่า ทีมงานที่รับช่วงต่อ

               อาทิ ความชัดเจนในการก าหนดหน่วยงานผู้รับผิดชอบแบบกว้างๆ    2.  ความชัดเจนของข้อเสนอแนะและตัวผู้รับผิดชอบ
                                                                                                         ่
                                                                                                                                           ั
            3)  ข้อเสนอแนะบางกรณีมีข้อโต้แย้งด้านข้อกฎหมาย และแนวทางที่       1)  เพื่อให้เกิดความชัดเจนกับทุกฝาย ข้อเสนอแนะควรระบุแนวทางการแก้ไขปญหารวมถึงผู้รับผิดชอบที่
               ด าเนินการได้ยากในทางปฏิบัติ                                      ชัดเจน อ้างอิงตามข้อกฎหมาย
            4)  พัฒนาเครือข่ายสื่อมวลชน เพื่อการแจ้งข้อมูล ข่าวสาร ความคืบหน้า  3.  ด้านกระบวนการ
                                                                                                      ่
               ในการติดตามผลการเยียวยา                                        1)  แจ้งเรื่องยังผู้เกี่ยวข้องทุกฝาย
                                                                              2)  เพิ่มกลไกผลักดันโดยการแจ้งเรื่องยังหน่วยงานบังคับบัญชา และเครือข่ายสื่อมวลชนต่างๆ
                                                                              3)  การติดตามทวงถาม ด าเนินการควบคู่ทั้งผู้เกี่ยวข้องและหน่วยงานบังคับบัญชา

                                                                              4)  กรณีติดตามแล้วไม่มีการด าเนินการเพื่อแก้ไข เยียวยา ให้มีการด าเนินการตามขั้นตอนคือ ท าหนังสือ
                                                                                 แจ้งต่อนายกรัฐมนตรี และรัฐสภาตามล าดับ

                                                                              5)  สรุปเป็นรายงานตามช่วงเวลา (เช่น ไตรมาส หรือปี ) ถึงผลการตรวจสอบ และความร่วมมือที่ได้รับใน
                                                                                                ั
                                                                                                                                      ั
                                                                                 การแก้ไขเยียวยาปญหา จ าแนกตามกระทรวง เพื่อสะท้อนภาพของปญหา และความตระหนักต่อการมี
                                                                                                   ั
                                                                                 ส่วนร่วมในการแก้ไขปญหา
                                                                        หมายเหตุ กรณีมีข้อโต้แย้ง ข้อผิดพลาดต่างๆ ควรมีระบบการบันทึกข้อมูล รวมถึงแนวทางแก้ไขเพื่อเป็นฐานข้อมูล

                                                                                      ส าหรับการตรวจสอบในครั้งต่อไป







                                                                                   - ณ -
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33