Page 193 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 193

้
                                        ้
                  กระตือรือร้นในการปกปองสิทธิเสรีภาพ ท าให้เกิดการรวมกลุ่มรวมตัวกันต่อสู้ปกปองสิทธิของ
                  ตนเองมากขึ้น



                         5.2.2 ที่มา/เหตุผลในการจัดตั้งองค์กร

                         ในรายงานผลปฏิบัติงานของส านักคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน (2550  :  2-3)  ได้กล่าวว่า

                  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกตาม
                  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  พ.ศ. 2540  แต่ในช่วงปี 2549 มีการชุมนุมทางการเมืองของ

                  กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยและองค์กรต่างๆ อย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน เพื่อ

                  กดดันต่อรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร รวมทั้งมีความขัดแย้งทางการเมือง ที่มีความคิดเห็น

                  ต่างๆ กันจ านวนมาก ได้เกิดการรัฐประหารยึดอ านาจโดยคณะทหาร เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549

                  และยกเลิกรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 แล้วกลับมา ใช้อ านาจโดยคณะมนตรี

                  ความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) ท าให้สถานการณ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ของสังคมไทย

                  ได้รับผลกระทบในหลายมิติ แม้สังคมไทยจะไม่เห็นด้วยกับการรัฐประหาร  ยึดอ านาจทางการ
                  เมืองโดยคณะทหาร อย่างไรก็ตามในสภาพการณ์ขณะนั้นที่ความขัดแย้ง ทางการเมืองในการ

                  คัดค้านรัฐบาลชุดก่อนยังด าเนินต่อมาอย่างต่อเนื่อง ท าให้การคัดค้านรัฐประหาร ที่เกิดขึ้น ไม่

                  น าไปสู่กระแสการต่อสู้อย่างกว้างขวางเช่น ปี 2535 และยังมีการถกเถียงเชิงแนวคิดและแนวทาง

                                                                 ั
                  ปฏิบัติอย่างลึกซึ้งในขบวนภาคประชาชนมาจนถึงปจจุบัน แต่อย่างไร ก็ตามการที่สังคมไทยมี
                                                                                      ั
                  บทเรียนจากการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยของประชาชนมายาวนาน จึงเป็นปจจัยหนึ่งที่ส าคัญใน
                  การผลักดันให้คณะรัฐประหารต้องเร่งจัดตั้งรัฐบาลพลเรือน ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว

                  พ.ศ.2549 รวมทั้งการจัดตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญ ด าเนินการร่างรัฐธรรมนูญ จนน าไปสู่มติการ

                  ประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญที่มีผลบังคับใช้ในเดือนสิงหาคม 2550 และยุติบทบาทของคณะมนตรี

                  ความมั่นคงแห่งชาติในเวลาต่อมา
                         ภารกิจของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนในช่วงเวลาดังกล่าว จนถึงการมีรัฐธรรมนูญแห่ง

                  ราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 ยังคงด าเนินต่อไปตาม  3 ภารกิจหลักเดิม กล่าวคือ การตรวจสอบ

                  หรือหยิบยกกรณีมีการละเมิดหรือมีการกระท าที่ไม่เป็นธรรม ทั้งรายกรณี และการตรวจสอบ

                    ั
                  ปญหาจากกฎหมาย หรือนโยบายของรัฐบาล ควบคู่กับการรณรงค์พัฒนาวัฒนธรรม
                  สิทธิมนุษยชน โดยอาศัยการท างานร่วมกันและสนับสนุนงานเครือข่ายภาคประชาสังคม ทั้ง

                  ประชาชน องค์กรพัฒนาเอกชน และสถาบันวิชาการ

                          อย่างไรก็ตาม ก็มีบางประเด็นที่อาจมีผลเกี่ยวเนื่องกับสถานการณ์ในช่วงหลังการ
                  รัฐประหาร จนถึงการมีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 ที่ควรกล่าวถึงไว้



                                                          - 148 -
   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198