Page 192 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 192
5.2 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550
5.2.1 สถานการณ์ปัญหาสิทธิมนุษยชนที่ส าคัญของประเทศ/ภูมิภาค
ั
สถานการณ์ปญหาสิทธิมนุษยชนส าคัญในปี 2552 ที่มีการร้องเรียนแล้ว กสม.หยิบยกมา
พิจารณา
แผนภาพที่ 5.9 แสดงสถานการณ์ปัญหาสิทธิมนุษยชนส าคัญในปี 2552 ที่มีการร้องเรียน
แล้ว กสม. หยิบยกมาพิจารณา
ที่มา: ผลการปฏิบัติงานประจ าปี 2552 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
จากรายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน (ปี 2552) ระบุว่าจากการ
ั
ตรวจสอบการร้องเรียนเกี่ยวกับปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนพบว่าสาเหตุส าคัญส่วนหนึ่งเป็น
ผลมาจากนโยบายรัฐที่เน้นการพัฒนาไปในทิศทางการเติบโตทางเศรษฐกิจและการส่งออกโดย
ไม่เน้นการกระจายฐานทรัพยากร ไม่ค านึงถึงสิทธิการจัดการ การร่วมตัดสินใจของชุมชนท้องถิ่น
ท าให้เกิดความขัดแย้งระหว่างชุมชนกับโครงการของรัฐหรือของเอกชน ประกอบกับรัฐและ
้
หน่วยงานของรัฐไม่เข้มงวดอย่างจริงจังในการปกปองสิทธิในกระบวนการยุติธรรม และการให้
ั
เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นที่เป็นสิทธิขั้นพื้นฐาน ท าให้การละเมิดสิทธิมนุษยชนเป็นปญหา
ทวีความรุนแรงมากขึ้น
อย่างไรก็ตามในอีกด้านหนึ่งสถานการณ์ทางสังคมได้มีการเปลี่ยนแปลงเคลื่อนไหวอย่าง
รวดเร็ว โดยเฉพาะความขัดแย้งทางการเมืองในประเทศไทยนับตั้งแต่ปี 2552 ที่รุนแรงมากขึ้น
ท าให้ประชาชนตระหนักให้ความสนใจในเรื่องสิทธิมนุษยชนมากขึ้น ประชาชาชนมีความตื่นตัว
- 147 -