Page 10 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 10
โครงสร้างการท างาน
ปัญหา แนวทางแก้ไข
1. ผู้ที่ได้รับมอบหมายต้องก าหนดรูปเรื่องภายใต้กรอบเวลาที่ก าหนด (ตามความซับซ้อนของเรื่อง)
2. ควรมีเนื้อหาหลัก ประกอบด้วย
2.1 สาระส าคัญของค าร้องโดยสรุป
2.2 ก าหนดประเด็นการละเมิดให้ชัดเจน ว่ามีจ านวนประเด็นกี่ประเด็น ประเด็นใดเป็นประเด็นหลัก ประเด็นรอง
และความต้องการของผู้ร้องเรียน
7. คู่มือมาตรฐาน (SOP) ด้านการก าหนดรูปเรื่อง
2.3 ก าหนดแนวทางตรวจสอบประกอบด้วย วิธีการตรวจสอบ การเข้าถึงข้อมูล พยานหลักฐาน รวมถึงผู้เกี่ยวข้อง
2.4 ข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องมีอะไรบ้าง
2.5 สาระส าคัญอื่นๆ อาทิ ความเห็นต่อการก าหนดแนวทางไกล่เกลี่ย
3. การก าหนดรูปเรื่องต้องอยู่ภายใต้การก ากับดูแลของหัวหน้ากลุ่ม / ที่ปรึกษา เพื่อท าการตรวจสอบความถูกต้อง
ครบถ้วนในเบื้องต้นก่อนส่งให้อนุกรรมการด้านดังกล่าว พิจารณาต่อไป
1. เขียน (ร่างรายงาน) ตามกรอบของรูปเรื่องที่ได้รับอนุมัติจากคณะอนุกรรมการ
2. ควรมีเนื้อหาหลักประกอบด้วย
2.1 รายละเอียดของข้อร้องเรียนโดยสรุป (ค านึงถึงการปกปิดข้อมูลผู้เสียหาย)
8. คู่มือมาตรฐาน (SOP) ด้านการเขียนรายงาน 2.2 ประเด็นที่ท าการตรวจสอบ และวิธีการที่ใช้ตรวจสอบ
2.3 ข้อเท็จจริงที่พบจากการตรวจสอบ และข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
2.4 ข้อวินิจฉัยโดยสรุปว่า ละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือไม่ อย่างไร
ั
2.5 ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปญหา โดยต้องค านึงถึงต้องอยู่ในกรอบของกฎหมาย และสามารถปฏิบัติได้จริง
- ช -