Page 137 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 137

เมื่อเปรียบเทียบจ านวนของข้อร้องเรียนถูกลงทะเบียนในคณะกรรมาธิการตั้งแต่ปี 2550 -

                  2551 และ จ านวนเรื่องร้องเรียนที่ลงทะเบียนในช่วงปี 2552  -  2553 น้อยลงอย่างเห็นได้ชัด

                  อย่างไรก็ตามในอดีตที่ผ่านมาการร้องเรียนจ านวนมากที่สุดลงทะเบียนมาจากรัฐอุตตรประเทศ

                         จ านวนเรื่องร้องเรียนทั้งหมดลงทะเบียนโดยคณะกรรมาธิการอุตตรประเทศคิดเป็น
                  51,270 (ร้อยละ 62) ข้อร้องเรียน ตามด้วยเดลีมี 5,228 (ร้อยละ 6) ข้อร้องเรียน และ ฮายาน่า มา

                  อันดับที่สามจ านวน 2,921 (ร้อยละ 3.5) ข้อร้องเรียน นี่เป็นอีกครั้งที่จะแสดงให้เห็นว่าการจัดตั้ง

                  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งรัฐ จัดตั้งได้จนถึงขณะนี้ไม่ได้เป็นการลดความส าคัญใด ๆ

                  จ านวนของข้อร้องเรียนที่ได้รับจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเป็นมากกว่าร้อยละ 85

                  ของการร้องเรียนที่ได้รับมาจากรัฐที่มี คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน เป็นของตนเอง

                         จากจ านวนทั้งหมด 85,587  ข้อร้องเรียน ถูกคัดออกในปี 2552  -  2553  ข้อร้องเรียน

                  จ านวน 60,041 ไม่รับพิจารณา in limini  ในขณะที่ 10,936 ข้อร้องเรียน ข้อร้องเรียนที่ถูกคัดออก

                  เพื่อก าหนดทิศทางไปยังหน่วยงานที่เหมาะสมส าหรับมาตรการแก้ไขเยียวยา 1,984 ข้อร้องเรียน

                  การแจ้งการที่เกี่ยวข้องกับการเสียชีวิตในที่คุมขัง 3  ข้อร้องเรียน การแจ้งการที่เกี่ยวข้องกับการ
                  ข่มขืนในที่คุมขัง  73  ข้อร้องเรียน กรณีของการเสียชีวิตที่พบและ 6,621  ข้อร้องเรียน และข้อ

                  ร้องเรียนอื่น ๆ ที่ถูกคัดออกรวมกัน หลังจากเรียกร้องให้มีการรายงานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                  (ตารางที่ 4.3)






























                                                          - 93 -
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142