Page 118 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 118

ในชั้นต้นของกระบวนการพิจารณาว่าจะยอมรับไว้พิจารณาหรือไม่นั้น โดยทั่วไปแล้วจะ

                  กระท าเป็นลายลักษณ์อักษร ถึงแม้ว่าศาลจะตัดสินให้ท าการพิจารณาในกรณีที่ประเด็นของคดีมี

                  ความสัมพันธ์กันกับเนื้อหาแห่งคดีที่จะต้องได้รับการบันทึกด้วยวิธีอื่นแยกไว้ต่างหากก็ตาม ส่วน
                                                                ้
                  ในกรณีที่ศาลได้ตัดสินว่าจะรับไว้พิจารณาหรือรับฟองนั้นก็จะต้องได้รับการลงคะแนนเสียงข้าง
                  มาก และจะต้องระบุถึงเหตุผลลงไปด้วย และท้ายสุดก็ท าการเผยแพร่สาธารณชนต่อไป



                         4.2.9 การพิจารณาด าเนินเรื่องร้องทุกข์

                         กระบวนการพิจารณา (Procedure  on  the  merits) เมื่อศาลได้ท าการตัดสินรับค า

                  ร้องเรียนนั้นแล้ว ศาลอาจจะท าการแนะน าคู่กรณีในเรื่องเกี่ยวกับพยานหลักฐานและท าความเห็น

                  หรือข้อสังเกตเป็นลายลักษณ์อักษร รวมทั้งการเรียกร้องให้มีการชดเชย (just satisfaction) ของผู้

                  ร้อง และท าการเผยแพร่การพิจารณาข้อถูกผิดของคดีต่อสาธารณชน

                         ประธานศาลอาจจะจัดการบริหารกระบวนการให้ความยุติธรรมที่เหมาะสม ให้ค าแนะน า

                  หรืออนุญาตให้ออกจากกระบวนการ แก่รัฐภาคีอนุสัญญาใดที่มิได้เป็นคู่กรณีหรือแค่บุคคลใดที่

                  เกี่ยวข้องกับคดีแต่มิได้เป็นผู้ร้องเรียนในการเสนอความเห็นเป็นลายลักษณ์อักษรและพฤติการณ์
                                                 ั
                  แวดล้อมที่ได้รับการยกเว้นให้รับฟงได้ (Exceptional circumstances)  หรือการตั้งตัวแทนในการ
                  พิจารณาเป็นต้น รัฐภาคีอนุสัญญาที่เป็นเจ้าของสัญชาติของผู้ร้องเรียนนั้นย่อมมีสิทธิที่จะเข้า

                  แทรกแซงหรือเข้ามาในคดีได้



                         4.2.10 การตรวจสอบ และไกล่เกลี่ยข้อพิพาท

                         ในระหว่างกระบวนการการพิจารณาเนื้อหาแห่งคดีนี้ มีจุดมุ่งหมายในการเจรจา

                  ประนีประนอม (Negotiations)  ให้มีการระงับข้อพิพาทฉันท์มิตร (friendly  settlement)  ซึ่งการ

                  ระงับข้อพิพาทฉันท์มิตรนี้อาจจะได้รับการไกล่เกลี่ยโดยคนกลางอย่างนายทะเบียน (The

                  Registrar)  ก็ได้ การเจรจาประนีประนอมให้ระงับข้อพิพาทโดยมิตรวิธีนี้จะกระท าเป็นความลับ

                  (confidential)
                         คู่ความในคดีอาจยื่นค าร้องขอเพื่อให้มีการตีความค าพิพากษาของศาลภายในระยะเวลา

                  1 ปี นับแต่ได้มีการส่งค าพิพากษานั้นโดยไปยื่นต่อส านักทะเบียนของคณะกรรมการรัฐมนตรี

                  คณะผู้พิพากษา ร่วมกันพิจารณาความหมายของค าพิพากษา ในการปฏิบัติหน้าที่การตีความนี้

                  จะต้องท าภายในเวลาจ ากัด และที่ประชุมมีอ านาจเขียนบทวิจารณ์ค าพิพากษานั้นด้วย








                                                          - 74 -
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123