Page 122 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 122
4.3 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนประเทศอินเดีย
4.3.1 สถานการณ์ปัญหาสิทธิมนุษยชนที่ส าคัญของประเทศ/ภูมิภาค
้
การปกปองสิทธิ เสรีภาพของประชาชน และการมีผลบังคบใช้ของบทกฎหมายถือเป็นสิ่ง
ที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนอินเดียให้ความส าคัญ เนื่องจากบทกฎหมายนั้นก าหนดบทบาท
้
หน้าที่ของคณะกรรมการอยู่สองประเภทหลักด้วยกัน ได้แก่ รวดเร็ว ฉับไวในการปองกัน การให้
ความช่วยเหลือผู้เสียหาย และการพัฒนาและส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ และวัฒนธรรมด้านสิทธิ
้
มนุษยชนทั่วทั้งประเทศ ที่ผ่านมาคณะกรรมการมีความมุ่งมั่นในการส่งเสริมและปกปองสิทธิ
มนุษยชนโดยโดยเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชนโดยไม่ขึ้นต่อใครและไม่เกรงกลัวต่อ
ผลกระทบหากยึดมั่นในความถูกต้อง
อย่างไรก็ตามคณะกรรมการได้มีพัฒนาการให้ความคุ้มครองอย่างทั่วถึงและโปร่งใสใน
กรณีที่หลากหลาย อาทิเช่น การละเมิดที่เกี่ยวข้องกับการเมือง การก่อการร้าย ความรุนแรงต่างๆ
เป็นต้น อ านาจและหน้าที่อันยิ่งใหญ่ที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนอินเดียได้รับ รวมทั้งบทบาท
้
ภายใต้รัฐธรรมนูญ ที่ต้องด าเนินงานร่วมกับศาลสูงภายในประเทศ เพื่อปกปองสิทธิมนุษยชน ใน
ระยะต้นการด าเนินงานภายใต้กรอบบทบาทและหน้าที่อาจจะไม่มีความชัดเจนและอาจมีอุปสรรค
บ้าง
อย่างไรก็ตามเมื่อผ่านมาสักระยะหนึ่ง การท างานและความเข้าใจเริ่มชัดเจนขึ้น
คณะกรรมการฯ ไม่เพียงแค่ด าเนินการตามกรอบที่กล่าวไปข้างต้น แต่ยังมีขอบเขตการ
้
ด าเนินงานขยายกว้างขึ้นอย่างไม่มีที่สิ้นสุดเพื่อประโยชน์สูงสุดของประเทศชาติในการปกปอง
เนื่องจากสิทธิมนุษยชนนั้นเป็นสิ่งที่มีส่วนเกี่ยวพันธ์กับสิ่งต่างๆ มากมายที่ไม่สามารถแยกออก
้
จากกันได้ ยิ่งไปกว่านั้นนอกจากสิทธิ และเสรีภาพแล้ว การปกปองศักดิ์ศรีของมนุษย์ถือเป็นสิ่งที่
ส าคัญอย่างยิ่งยวดด้วยเช่นกัน
4.3.2 ที่มา/เหตุผลในการจัดตั้งองค์กร
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนอินเดียก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2536 ภายใต้
พระราชบัญญัติการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน 2536 ซึ่งมีความสอดคล้องกับหลักการปารีส ที่ได้มี
้
การถกเถียงและปรับแก้ในการสัมมนานานาชาติหัวข้อสถาบันระดับชาติด้านส่งเสริมและปกปอง
สิทธิมนุษยชน ครั้งที่ 1 จัดขึ้นที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศสในเดือนตุลาคม ปี 2534 ซึ่งผ่านการ
รับรองอย่างเป็นทางการโดยสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติตามมติ 48/134 ของวันที่
20 ธันวาคม พ.ศ. 2536 ในการนี้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนถือเป็นศูนย์กลางในการส่งเสริมและ
้
ปกปองสิทธิมนุษยชนของประเทศอินเดีย
- 78 -