Page 75 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 75
ในขณะเดียวกันก็มีการใช้อํานาจรัฐอนุญาตให้หน่วยงานรัฐหรือเอกชนเข้าไปดําเนินโครงการ
่
ในพื้นที่ที่ชุมชนใช้ประโยชน์ของชุมชน เช่น กรณีการออกเอกสารสิทธิในบริเวณปาพรุ ต.แม่รําพึง
่
อ.บางสะพาน จ.ประจวบคีรีขันธ์ เพื่อก่อสร้างโรงงานถลุงเหล็ก หรือกรณีการอนุญาตใช้ที่ปาที่เป็น
่
่
่
ที่ทํากินของราษฎรทําสวนปาคอนสาร สวนปาโคกยาว อ. คอนสาร จ. ชัยภูมิ สวนปาห้วยจันทร์
่
จ. ศรีสะเกษ สวนปาคลองท่อม จ.กระบี่ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรายงานข้อมูลถึง
่
เดือนเมษายน 2551 สรุปคดีในเขตปา ปี 2550 จํานวน 6,711 คดี ปี 2551 จํานวน 2,625 คดี
โดยเฉพาะคดีในศาลอุทธรณ์ภาค 5 (ครอบคลุมจังหวัดในภาคเหนือตอนบน) ในปี พ.ศ. 2548 จํานวน
้
่
คดีฟองบุกรุกปาสงวนแห่งชาติ 981 จํานวนคดีบุกรุกเขตอุทยานแห่งชาติ 91 คดี พ.ศ. 2550 จํานวน
้
่
คดีฟองบุกรุกปาสงวนแห่งชาติ 1,144 จํานวนคดีบุกรุกเขตอุทยานแห่งชาติ 103 คดี
้
่
่
่
การจับกุมฟองร้องคดีบุกรุกปาทั้งปาสงวนแห่งชาติและปาอนุรักษ์กับชาวบ้านมากกว่า 1 พันคดี
้
้
ชาวบ้านที่ถูกจับกุมฟองร้องดําเนินคดีแต่ละปีมีจํานวนกว่าพันคน และหากมีการจับกุมฟองร้อง
่
่
ดําเนินคดีกับราษฎรที่อยู่ในเขตปาทุกราย ตามข้อมูลที่หน่วยงานด้านปาไม้รายงานให้กับคณะกรรมาธิการ
่
ชุดต่าง ๆ ของรัฐสภา มีราษฎรอยู่ในเขตปาสงวน 450,000 ราย อุทยานแห่งชาติและเขตรักษา
่
พันธุ์สัตว์ปา 185,916 ราย หากเจ้าหน้าที่รัฐปฏิบัติตามระเบียบกฎหมายที่มีอยู่อย่างเคร่งครัด
่
โดยไม่เลือกปฏิบัติ ราษฎรที่จะต้องถูกจับกุมดําเนินคดีในคดีปาไม้ทั้งหมดคงไม่น้อยกว่า 6 แสนราย
การบังคับใช้กฎหมายที่เก่าแก่ล้าสมัยและส่งผลให้ราษฎรที่ครอบครองที่ดินประกอบอาชีพการเกษตร
โดยสุจริตกลายเป็นผู้กระทําผิดกฎหมายนับแสนรายมานานนับครึ่งศตวรรษโดยไม่อาจหาวิธีการแก้ไข
่
ได้นอกจากเลือกปฏิบัติจับกุมเป็นราย ๆ ไป จึงสะท้อนถึงการบริหารจัดการที่ดินปาไม้ที่ผิดทิศผิดทาง
ั
เพราะไม่สอดคล้องกับบริบทของสังคมและความเป็นจริงในปจจุบันจนส่งผลกระทบต่อความมั่นคง
ของชาติ ทําให้เศรษฐกิจและสังคมฐานรากไม่มั่นคง งานวิจัยหลายชิ้นได้เสนอทางออกไว้ให้ ทั้งเรื่อง
่
่
การจัดทําแนวเขตปาให้ชัดเจน การตรวจสอบพิสูจน์สิทธิ์การถือครองที่ดินในเขตปาให้แล้วเสร็จ
่
โดยเร็ว รวมทั้งการเพิกถอนเขตปาที่ประกาศทับที่ดินราษฎรและชุมชน แต่ข้อเสนอเหล่านี้ไม่ได้รับการ
พิจารณาจัดการแก้ไขอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ทําให้ไม่สามารถแยกแยะออกได้ว่าใครบ้าง คือ ผู้บุกรุก
่
่
ทําลายปาและจะจัดการแก้ไขอย่างไร ใครบ้างที่ถูกรัฐละเมิดสิทธิที่ดินที่เขาอยู่มาก่อนการประกาศเขตปา
่
ั
่
และจะมีวิธีการจัดการแก้ไขอย่างไร ปจจุบันการบริหารจัดการพื้นที่ปาจึงเป็นไปตามนโยบายฝายการเมือง
และผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานรัฐโดยขาดหลักธรรมาภิบาลและหลักบริหารจัดการกิจการ
บ้านเมืองที่ดีเพราะขาดการปรึกษาหารือกับท้องถิ่นและประชาชนผู้ได้รับผลกระทบ การละเมิดสิทธิ
ั
่
มนุษยชนของราษฎรและชุมชนในเขตพื้นที่ปาไม้ที่มีอยู่จึงยังแก้ปญหาไม่ได้ และที่กําลังจะเกิดขึ้น
อีกต่อไปก็ยังไม่มีวิธีจัดการแก้ไข
เพิ่มศักดิ์ มกราภิรมย์ (2553) สรุปว่า มีสถานการณ์ที่สําคัญบางประการที่บ่งชี้ถึงความจําเป็น
่
่
เร่งด่วนต้องปฏิรูปการปาไม้ทั้งระบบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวกับที่ดินและปาไม้
่
่
ซึ่งเป็นเครื่องมือสําคัญในการรักษาปา ประการแรก การสูญเสียปาธรรมชาติที่สมบูรณ์อย่างต่อเนื่องถึง
่
80 ล้านไร่ในช่วงประมาณ 50 ปีที่ผ่านมา หรือปีละกว่า 1 ล้านไร่ ทําให้ระบบนิเวศปาซึ่งมีความ
หลากหลายทางชีวภาพ ถูกทําลายไปเป็นจํานวนมาก ประการที่สอง กระบวนการฟอกสินทรัพย์
่
ที่เกี่ยวข้องกับปา เช่นการตัดไม้ผิดกฎหมายโดยหาผู้กระทําผิดไม่ได้แล้วทําให้ไม้ตกเป็นของกลาง
5‐3