Page 84 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 84

62


                       ภายใตโครงสรางดังกลาว คณะอนุกรรมการระดับประเทศดานการสงเสริมและคุมครองสิทธิดาน
               เอดส เปนกลไกหลักที่ทําหนาที่เกี่ยวของกับปญหาการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อนอกจาก

               อนุกรรมการชุดนี้แลว ในยุทธศาสตรการปองกันและแกไขปญหาเอดสชาติ พ.ศ. 2555-2559 ยังมี
                                               148
               หนวยงานอื่นๆ ที่มีภารกิจเกี่ยวของ  ที่สําคัญไดแก กระทรวงแรงงาน โดยเฉพาะกรมสวัสดิการและ
               คุมครองแรงงาน มีภารกิจในการสงเสริมสนับสนุนดานอาชีพใหแกผูติดเชื้อ ผูปวยเอดสและผูไดรับผลกระทบ
               ใหสามารถมีรายได พึ่งพาตนเองไดตามสมควรสํานักงานอัยการสูงสุด มีภารกิจในการเผยแพรความรูและ

               ความเขาใจเรื่องสิทธิมนุษยชนเกี่ยวกับการคุมครองสิทธิตลอดจนหนาที่ของบุคคลเกี่ยวกับเอดสตามกฎหมาย
               แกประชาชนกลุมตางๆ สภาทนายความ มีหนาที่ในการดําเนินการและสนับสนุนใหสภาทนายความจังหวัด
               เผยแพรความรูเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนดานเอดสแกประชาชน ตลอดจนดําเนินการและสนับสนุนใหสภา
               ทนายความจังหวัดจัดและพัฒนาระบบการรับเรื่องรองเรียนและใหความชวยเหลือทางกฎหมายใหสามารถใน

               การใหบริการและชวยเหลือคุมครองสิทธิในประเด็นสิทธิดานเอดสมากขึ้น และคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
               แหงชาติ ซึ่งมีหนาที่ในการพัฒนาระบบและดําเนินการรับเรื่องรองเรียนและตรวจสอบการละเมิดสิทธิ
               มนุษยชนใหมีความสามารถในการใหบริการเกี่ยวกับสิทธิดานเอดสไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้นเสนอ
               ความเห็นตอรัฐบาลเพื่อใหมีมาตรการในการคุมครองสิทธิมนุษยชนดานเอดสมากขึ้นและใหขอเสนอแนะแก

               รัฐบาลและหนวยงานตางๆ ในการแกไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนดานเอดสเผยแพรความรูความเขาใจ
               เรื่องสิทธิมนุษยชนดานเอดสใหกับเครือขายตางๆ ภายใตคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ รวมทั้งจัดทํา
               และสนับสนุนใหภาคประชาสังคมจัดทํารายงานสถานการณสิทธิมนุษยชนดานเอดสประจําป

                       สําหรับการดําเนินงานเพื่อลดการเลือกปฏิบัติและการตีตราตอผูติดเชื้อเอชไอวีของ คช.ปอ. และ

               ศบ.จอ. ไดมีการกําหนด แนวปฏิบัติแหงชาติวาดวยการปองกันและบริหารจัดการดานเอดสในสถานที่
               ทํางาน เพื่อใหสถานที่ทํางานถือเปนหลักปฏิบัติ ตั้งแตวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2552 นอกจากสาระสําคัญเรื่อง
               แนวทางการปองกันการแพรระบาดของโรคเอดส/เชื้อเอชไอวีในสถานที่ทํางานแลว แนวปฏิบัติแหงชาติฉบับนี้
               ใหความสําคัญกับ

                       “(1) การคุมครองสิทธิมนุษยชน ไดแก การปกปองคุมครอง และสงเสริมการปฏิบัติตอคนทํางานและ


               คนสมัครงานอยางเทาเทียมกันและขจัดการเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอผูติดเชื้อและผูไดรับผลกระทบ ดังนี้
                          (ก) การจางงานและการสมัครงานตองไมมีการตรวจหาเชื้อเอชไอวีหรือการแสดงหลักฐานวาไม
                              ติดเชื้อเอชวี เพื่อคัดกรองคนทํางานและคนสมัครงานหรือเพื่อเปนเงื่อนไขในการจางงานหรือ
                              เปนหลักเกณฑวาคนทํางานและคนสมัครงานขาดคุณสมบัติในการจางงาน...” 149


                       อยางไรก็ดี แมวาแนวปฏิบัติจะออกมาในป 2552 แตดูเหมือนจะไมไดรับการยอมรับในหมูนายจาง
               มากนัก ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยในหนวยงานรัฐบางหนวยงาน ก็ยังมีการบังคับใหมีการตรวจเลือดเพื่อ








               148
                 ศป.จอ., ภารกิจการดําเนินงานปองกันและแกไขปญหาเอดสของหนวยงานและองคกรตางๆ[ออนไลน] retrieved from
               http://www.thailandaids.org/main/index.php/2012-06-21-06-54-48/2012-07-06-08-56-04
               149
                 ประกาศคณะกรรมการแหงชาติวาดวยการปองกันและแกไขปญหาเอดส เรื่อง แนวปฏิบัติแหงชาติวาดวยการปองกันและ
               บริหารจัดการดานเอดสในสถานที่ทํางานขอ 7 [ออนไลน] retrieved from
               http://www.thailandaids.org/main/index.php/2012-06-21-06-54-48/2012-07-06-06-59-44?limitstart=0
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89