Page 80 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 80

58


               ความจริงจังของการขับเคลื่อนยุทธศาสตรดังกลาว โดยเฉพาะในภาครัฐที่เปนกลไกสําคัญในการกําหนด
               นโยบาย ยังปรากฏมี

                       (1) การเลือกปฏิบัติในระดับนโยบาย/กฎหมาย โดยจะเห็นไดจากในกรณีการคัดเลือกขาราชการฝาย
               ตุลาการ และขาราชการตํารวจ สถานการณขางตน ชี้ใหเห็นวา แมวารัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
               พุทธศักราช 2550 จะมีบทบัญญัติที่รับรองความเสมอภาคของบุคคล และมิใหมีการเลือกปฏิบัติตอบุคคลดวย
               เหตุแหงความแตกตางในเรื่องถิ่นกําเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ

               (เนนโดยผูวิจัย) สถานะทางบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรมหรือ
                          142
               ความคิดเห็น  ทั้งยังมีแนวทางปฏิบัติแหงชาติวาดวยการปองกันและบริหารจัดการดานเอดสในสถานที่
               ทํางานที่ครอบคลุมสถานการณประกอบการทุกประเภท ทั้งหนวยงานของรัฐ เอกชน แตในความเปนจริง การ
               เลือกปฏิบัติในระดับกฎหมาย/นโยบายในหลายหนวยงานยังปรากฏอยางชัดเจน สภาพปญหาขางตน สวนหนึ่ง

               อาจเปนเพราะบทบัญญัติดังกลาว ยังไมมีกฎหมายลูกที่มีสภาพบังคับอยางชัดเจน ทั้งไมมีบทลงโทษกรณีที่มี
               การฝาฝนหรือละเมิดกฎหมายดังกลาว ทําใหยังคงมีปรากฏการณการเลือกปฏิบัติในระดับกฎหมาย/นโยบาย
               เชนนี้
                       (2) การเลือกปฏิบัติระดับสถาบัน ซึ่งเกิดขึ้นในสถาบันการศึกษาและสถานที่ทํางาน ดูเหมือนจะเปน

               ปญหาหลักในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อมากที่สุด โดยปญหาที่แพรหลายที่สุดคือ การบังคับตรวจเลือด
               กอนจางงาน ซึ่งพบในธุรกิจหลายประเภท ที่สําคัญไดแก ธุรกิจโรงแรม การคาปลีก ธุรกิจอาหารและบริการ
               ธนาคารและแมแตธุรกิจขายรถยนต

                       (3) การเลือกปฏิบัติในระดับชุมชน หรืออีกนัยหนึ่งคือการเลือกปฏิบัติในกลุมแรงงานนอกระบบ เมื่อผู
               ติดเชื้อถูกเลือกปฏิบัติในระดับสถาบัน การกลับไปดําเนินชีวิตในชุมชนดูเหมือนเปนทางเลือกแรกๆ แตขอมูล
               จากการศึกษาขางตนชี้ใหเห็นวา หลายกรณีการเลือกปฏิบัติที่เกิดขึ้นในระดับชุมชน ทําใหชุมชนไมสามารถทํา
               หนาที่เปนโครงขายคุมครองทางสังคม (Social Safety Net) ที่ดีนัก และกลายเปนสวนที่ซ้ําเติมสถานการณ
               การตีตราและการเลือกปฏิบัติตอผูติดเชื้อเอชไอวีเสียเอง อยางไรก็ดี ขอมูลจากการศึกษา พบวา การแกปญหา

               การเลือกปฏิบัติในระดับชุมชนดูจะเปนเรื่องงายกวาการเลือกปฏิบัติในระดับสถาบัน และนโยบาย/กฎหมาย
               โดยเฉพาะเมื่อตัวผูติดเขื้อสามารถทําความเขาใจเรื่องชองทางการแพรระบาดของเชื้อ   เอชไอวีกับคนในชุมชน
               ของตนเอง รวมทั้งพิสูจนตัวเองไดวา เขาเหลานั้นยังสามารถดําเนินชีวิต และประกอบอาชีพไดไมตางจากผูอื่น

                       อยางไรก็ดี จากการเก็บขอมูลในกลุมผูติดเชื้อเอชไอวี และกลุมผูใกลชิด พบวา สถานการณการเลือก
               ปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเกิดขึ้นอยางมากในธุรกิจที่เกี่ยวของกับอาหาร และธุรกิจบริการ โดย
                                                                                         143
               นายจางมีความหวาดกลัววา ผูติดเชื้อจะแพรเชื้อใหคนอื่นๆ ผานผลิตภัณฑและการบริการ  สาเหตุสําคัญของ
               การเลือกปฏิบัติ ยังคงอยูที่ความหวาดกลัวการแพรระบาดของเชื้อเอชไอวี ตลอดจนการขาดความรูความเขาใจ

               ถึงเทคโนโลยีการดูแลรักษาในปจจุบัน ที่ทําใหผูติดเชื้อสามารถมีชีวิตอยูและปฏิบัติงานไดเหมือนคนทั่วไป ทั้งนี้
               เปนผลมาจากพลังที่เกิดจากประสิทธิผลของการรณรงคเพื่อปองกันการแพรระบาดของโรคเอดสตั้งแตทศวรรษ
               แรกๆ อยางไรก็ดี แมวาในยุทธศาสตรการปองกันและแกไขปญหาเอดสชาติ พ.ศ. 2555-2559 จะเพิ่มมุมมอง
               เรื่องการลดการตีตราและเลือกปฏิบัติเปนหนึ่งในเปาหมายหลักในการมุงสูเปาหมายที่เปนศูนย (Getting to



               142
                 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 30
               143
                  อยางไรก็ดี เนื่องจากคณะผูวิจัยไมไดรับความรวมมือจากนายจางกลุมนี้เลย ไมวาจะเปนการใหสัมภาษณหรือการรวม
               สนทนากลุม เนื่องมาจากความวิตกกังวลในเรื่องภาพลักษณองคกร หรือแมแตการขาดความไววางใจในตัวคณะผูวิจัย ในการ
               ดําเนินการศึกษาวิจัยเพื่อแกไขปญหาการเลือกปฏิบัติ การสรางความไววางใจ โดยเฉพาะกับกลุมเปาหมาย กลายเปนเรื่องที่มี
               ความสําคัญมาก และจําเปนตองใหเวลาสําหรับกระบวนการสรางความไววางใจกอนที่จะดําเนินงานในขั้นตอไป
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85