Page 27 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 27

18


                                - สงเสริมและสนับสนุนองคกรภาคเอกชนทางเศรษฐกิจทั้งในระดับชาติและระดับทองถิ่น
                  ใหมีความเขมแข็ง

                                - สงเสริมอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เพื่อใหเกิดมูลคาเพิ่มในทางเศรษฐกิจ

                         จะเห็นไดวาแนวนโยบายทางดานเศรษฐกิจที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญนั้น มุงประเด็นไปที่การมี

                  เศรษฐกิจที่มั่นคงและยั่งยืน ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อีกทั้งการขยายตัวทางเศรษฐกิจจะตองมี
                  ความสมดุลและความมั่นคงทางเศรษฐกิจทั้งในมิติทั้งดานเศรษฐกิจและสังคม นอกจากนี้ยังตองสงเสริมใหเกิด
                  การแขงขันอยางเสรีและเปนธรรมโดยอาศัยกลไกตลาด โดยสนับสนุนใหใชหลักคุณธรรม จริยธรรม และหลัก
                  ธรรมาภิบาลควบคูการประกอบกิจการ

                          2) ดานสังคม

                         ในสวนของการวางแนวนโยบายของรัฐในดานสังคมนั้น รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช

                  2550 ไดกําหนดใหรัฐตองวางนโยบายในการบริหารประเทศ ดังนี้

                             (1) การบริหารราชการแผนดิน

                               การบริหารราชการแผนดินในมิติทางสังคมที่เกี่ยวของกับมิติทางดานเศรษฐกิจนั้น รัฐตอง
                  ดําเนินการตามแนวนโยบายใหเปนไปตามที่กําหนด โดยรัฐจะตองบริหารราชการแผนดินใหเปนไปเพื่อการ
                  พัฒนาสังคมเศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศอยางยั่งยืนโดยตองสงเสริมการดําเนินการตามปรัชญา
                                                                                     7
                  เศรษฐกิจพอเพียงและคํานึงถึงผลประโยชนของประเทศชาติในภาพรวมเปนสําคัญ6

                               นอกจากนี้ รัฐจะตองกระจายอํานาจใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นพึ่งตนเองและตัดสินใจใน
                  กิจการของทองถิ่นไดเอง สงเสริมใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีสวนรวมในการดําเนินการตามแนวนโยบาย
                  พื้นฐานแหงรัฐ พัฒนาเศรษฐกิจของทองถิ่นและระบบสาธารณูปโภคสาธารณูปการตลอดทั้งโครงสรางพื้นฐาน
                  สารสนเทศในทองถิ่นใหทั่วถึงและเทาเทียมกันทั่วประเทศ รวมทั้งพัฒนาจังหวัดที่มีความพรอมใหเปนองคกร
                                                                                        8
                  ปกครองสวนทองถิ่นขนาดใหญ โดยคํานึงถึงเจตนารมณของประชาชนในจังหวัดนั้น 7  และจัดใหมีแผนพัฒนา
                  การเมืองรวมทั้งจัดใหมีสภาพัฒนาการเมืองที่มีความเปนอิสระเพื่อติดตามสอดสองใหมีการปฏิบัติตามแผน
                                     9
                  ดังกลาวอยางเครงครัด8
                             (2) การมีสวนรวมของประชาชน

                               รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 กําหนดใหรัฐตองสงเสริมใหประชาชน
                                                                                                            10
                  มีสวนรวมในการกําหนดนโยบาย และวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทั้งในระดับชาติและระดับทองถิ่น 9
                  รวมถึงการสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชนในการตัดสินใจทางการเมือง การวางแผนพัฒนา
                                                                  11
                  ทางเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งการจัดทําบริการสาธารณะ10

                  7
                    รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 78 (1)
                  8
                    รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 78 (3)
                  9
                    รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 78 (7)
                  10
                     รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 87 (1)
                  11
                     รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 87 (2)
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32