Page 79 - เสียงจากชุมชน : ข้อกังวลเกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายและโครงการที่เกี่ยวข้อง
P. 79
ภาคผนวกที่ 1:
โครงการท่าเรือนำ้าลึกและเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย
ลำาดับเหตุการณ์สำาคัญ (พ.ศ. 2551-2556) 57
2551 2554
19 พฤษภาคม 2551 19 กรกฎาคม 2554
รัฐบาลไทยและเมียนมาร์ลงนามบันทึกความเข้าใจเพื่อ กลุ่มสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง (Karen National Union
พัฒนาโครงการท่าเรือนํ้าลึกและเขตเศรษฐกิจพิเศษ - KNU) ขัดขวางการสร้างถนนของบริษัทอิตาเลียนไทย
ทวาย (โครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย) ซึ่งประกอบ ที่เชื่อมระหว่างทวายกับประเทศไทย หลังจากชุมชนร้อง
ด้วยโครงการท่าเรือนํ้าลึกและถนนที่เชื่อมไปกรุงเทพฯ เรียนว่าทางบริษัทเข้ามาทําลายที่ดินของตน และไม่มี
19 มิถุนายน 2551 การจ่ายค่าชดเชยให้ เป็นถนนระยะทาง 160 กิโลเมตร
รัฐบาลเมียนมาร์และบริษัทอิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ และจะตัดผ่านหมู่บ้านกะเหรี่ยง 21 แห่ง
จํากัด (มหาชน) (ITD) ลงนามบันทึกความเข้าใจเพื่อจัด 15 ธันวาคม 2554
ทําการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการเขตเศรษฐกิจ สมาคมพัฒนาทวาย (Dawei Development Associa-
พิเศษทวาย tion - DDA) จัดแถลงข่าวที่กรุงย่างกุ้งแสดงข้อกังวล
เกี่ยวกับการโยกย้ายชาวบ้านในพื้นที่ 32,279 คน โรงเรียน
2553 21 แห่ง และวัด 23 แห่งในหมู่บ้าน 19 แห่ง สมาคม
ชาวบ้านในพื้นที่เริ่มสังเกตเห็นการก่อสร้างในพื้นที่ พัฒนาทวายเรียกร้องให้รัฐบาลและผู้พัฒนาโครงการ ภาคผนวกที่ 1
ชาวบ้านบางคนอ้างว่ามีการบุกรุกที่ดินของตน หรือมี • ปฏิบัติตามหลักการพัฒนาสีเขียวและยั่งยืนเพื่อ
การทําลายที่ดินโดยไม่ได้รับแจ้งข้อมูลล่วงหน้าหรือไม่ คุ้มครองสิ่งแวดล้อมและวิถีชีวิตในท้องถิ่นในทวาย
ได้ให้ความยินยอม • ให้ความสําคัญกับความต้องการของชาวบ้าน
2 พฤศจิกายน 2553 ในพื้นที่ในระหว่างการพัฒนาโครงการ
มีการลงนามในความตกลงกรอบโครงการ (Framework • จัดทําการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม
Agreement) ระหว่างบริษัทอิตาเลียนไทยกับ การท่าเรือ และการประเมินผลกระทบด้านสังคมที่สอดคล้องกับ
แห่งเมียนมาร์ (Myanmar Port Authority –MPA) และ มาตรฐานระหว่างประเทศ
มีการมอบสัมปทานงานจ้างเหมาก่อสร้าง บริหารงาน และ • ดําเนินการพัฒนาสีเขียวและยั่งยืนที่สะท้อน
ส่งมอบงาน (Build, Operate and Transfer Concession) ความต้องการและผลประโยชน์ของชุมชนท้องถิ่น
ระยะเวลา 60 ปีให้กับบริษัทอิตาเลียนไทย เพื่อพัฒนา
โครงการท่าเรือน้ําลึกและนิคมอุตสาหกรรม (รวมทั้ง 2555
อุตสาหกรรมหนัก เช่น โรงถลุงเหล็ก โรงงานปุ๋ย โรง 4 มกราคม 2555
ไฟฟ้า และหน่วยงานพลังงานอื่น ๆ) ถนน ทางรถไฟ สมาคมพัฒนาทวายและชาวบ้านในพื้นที่จัดการ
และโครงข่ายท่อส่งก๊าซและการพัฒนาเขตเมือง รณรงค์ต่อต้านโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินที่จะสร้าง
บริเวณหาดหม่องมะกัน และเรียกร้องให้มีการพัฒนา
“สีเขียว” ไม่ใช่การพัฒนาแบบที่ทําลายสิ่งแวดล้อม
57 รวบรวมข้อมูลโดย TERRA
79