Page 81 - เสียงจากชุมชน : ข้อกังวลเกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายและโครงการที่เกี่ยวข้อง
P. 81
20 กันยายน 2555 โครงการใหม่จะส่งผลให้นํ้าท่วมบ้านเรือน 182 ครัวเรือน
ชุมชนที่ได้รับผลกระทบเข้าร่วมการรณรงค์ประท้วง และจะเป็นเหตุให้ประชาชนกว่า 1,000 คนต้องอพยพ
โครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย พวกเขาวิจารณ์ว่าเป็น โยกย้าย และจะมีการผันนํ้าไปหล่อเลี้ยงนิคมอุตสาหกรรม
โครงการที่ก่อมลพิษมากมายและไม่เป็นมิตรกับ ใหม่ในทวาย ชาวบ้านในพื้นที่ระบุว่าทางบริษัทขอเจรจา
สิ่งแวดล้อม ชาวบ้านกาโลนท่าซึ่งจะได้รับผลกระทบ เพื่อไม่ให้โครงการต้องล่าช้า แต่ในวันที่บริษัทและเจ้า
จากโครงการเขื่อน เรียกร้องให้ประธานาธิบดีเต็งเส่งแสดง หน้าที่เดินทางมายังหมู่บ้านเพื่ออธิบายถึงแผนการโยก
เจตนารมณ์ที่จะยึดมั่นตามระเบียบสี่ข้อเกี่ยวกับนัก ย้าย พวกเขาพบว่าชาวบ้านต่างพากันชูป้ายตะโกนร้อง
ลงทุนจากต่างชาติ ได้แก่ 1) การปกป้องผลประโยชน์ ว่า “ไม่เอาเขื่อน” และ “ไม่โยกย้าย”
ของประชาชนชาวเมียนมาร์ 2) การคุ้มครองศักดิ์ศรีของ 22 พฤศจิกายน 2555
ประเทศ 3) การคุ้มครองอธิปไตยของรัฐ และ 4) การ จากรายงานข่าวที่อ้างคําพูดของประธานกรรมการ
ลงทุนจากต่างชาติต้องเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม บริหารของบริษัทอิตาเลียนไทยที่ระบุว่า ชาวบ้านส่วนใหญ่
ชุมชนกะเหรี่ยงซึ่งได้รับผลกระทบจากการสร้าง ได้ถูกโยกย้ายออกจากพื้นที่ไปแล้ว เป็นเหตุให้ทางกลุ่ม
ถนนเชื่อมโครงการกับประเทศไทย ได้จัดการรณรงค์และ เสียงทวายซึ่งอยู่ในพื้นที่ต้องออกมาระบุว่า จนถึงปัจจุบัน
มีการขึ้นป้ายต่อต้านที่ระบุว่า “อย่ามาทําให้ทวายต้อง ยังไม่มีชาวบ้านคนใดโยกย้ายออกไป
กลายเป็นมาบตาพุดแห่งที่สอง” 28 พฤศจิกายน 2555
4 ตุลาคม 2555 สื่อมวลชนรายงานข่าวว่า จะมีการจัดทํารายงานประเมิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทยให้ ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมของโครงการท่าเรือนํ้าลึก
สัมภาษณ์เกี่ยวกับการประชุมกับนายเซทสุโอะ อิอุชิ และนิคมอุตสาหกรรมทวายจนเสร็จสิ้นภายในต้นปี
ประธานองค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศของญี่ปุ่น 2556 ชาวบ้านในพื้นที่ระบุว่า แม้โครงการจะเริ่มตั้งแต่
(Japan External Trade Organization – JETRO) ปี 2553 แต่ทางบริษัทอิตาเลียนไทยเพิ่งจะว่าจ้างบริษัท ภาคผนวกที่ 1
ยืนยันความร่วมมือของญี่ปุ่นในโครงการเขตเศรษฐกิจ ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จํากัด
พิเศษทวาย โดยทั้งสามประเทศจะร่วมมือกัน และไทย บริษัทปัญญา คอนซัลแตนท์ จํากัด และสถาบันวิจัย
กับเมียนมาร์จะเป็นผู้มีบทบาทหลักในโครงการ เขายัง สภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ให้มาทําการ
ระบุด้วยว่าทางญี่ปุ่นแสดงความปรารถนาที่จะให้เงิน ประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมในพื้นที่หลักทั้งสาม
ทุนสนับสนุนโครงการในส่วนของการพัฒนา แห่งของโครงการเมื่อเดือนกันยายน 2554 (รวมทั้งส่วน
สาธารณูปการพื้นฐาน ของโครงการท่าเรือนํ้าลึกและโครงการเขตเศรษฐกิจ
28 ตุลาคม 2555 พิเศษทวาย พื้นที่ก่อสร้างเขื่อนที่บ้านกาโลนท่าและถนน
ชาวบ้านในพื้นที่นาบูเลซึ่งเป็นบริเวณที่จะมีการสร้าง ที่เชื่อมระหว่างโครงการกับประเทศไทย) ในปัจจุบันยัง
ท่าเรือนํ้าลึกและนิคมอุตสาหกรรมทวายกล่าวว่า จาก ไม่มีการเปิดเผยข้อมูลจากการประเมินผลกระทบด้าน
การก่อสร้างโครงการในเบื้องต้นเริ่มส่งผลกระทบต่อวิถี สิ่งแวดล้อมให้กับชาวบ้านในพื้นที่แต่อย่างใด
ชีวิตของตน ทําให้พวกเขาไม่สามารถปลูกพืชผลในบาง
ฤดูกาล มีการจัดตั้งกลุ่ม “เสียงทวาย” ซึ่งระบุว่า โครงการ 2556
เขตเศรษฐกิจพิเศษทวายจะเป็นประโยชน์เฉพาะกับ 17 มกราคม 2556
ภาคธุรกิจและราชการ แต่ชาวบ้านในพื้นที่จะได้รับ นายชินโสะ อาเบะจากนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นเดินทางมา
ผลกระทบจากโครงการ เยือนไทยอย่างเป็นทางการ และน.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
15 พฤศจิกายน 2555 นายกรัฐมนตรีไทยได้พูดคุยเกี่ยวกับโครงการเขต
ชาวบ้านจัดการประท้วงต่อต้านโครงการเขื่อนอีกครั้งที่ เศรษฐกิจพิเศษทวายกับนายอาเบะ The Nation รายงาน
บ้านกาโลนท่า เนื่องจากตามแผนการสร้างอ่างเก็บนํ้า ว่าญี่ปุ่นแสดงความสนใจที่จะเข้าร่วมพัฒนาโครงการ
81