Page 7 - เสียงจากชุมชน : ข้อกังวลเกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายและโครงการที่เกี่ยวข้อง
P. 7

บทนำ




            เอกสารฉบับนี้เป็นรายงานเกี่ยวกับโครงการเขตเศรษฐกิจ  ประเทศ หมู่บ้านรองรับผู้อพยพย้ายโยกย้าย และพื้นที่สร้าง
            พิเศษทวาย (Dawei Special Economic Zone – DSEZ)   อ่างเก็บนํ้า (เขื่อน)
            ทางตอนใต้ของประเทศเมียนมาร์  ซึ่งริเริ่มขึ้นเมื่อปี 2551       ข้อค้นพบสําคัญ ๆ จากการศึกษา ได้ชี้ให้เห็นถึง
            เพื่อพัฒนาพื้นที่ให้เป็นเขตนิคมอุตสาหกรรมปิโตรเคมีที่  ข้อกังวลสําคัญที่เกี่ยวข้องกับ  การเข้าถึงข้อมูลที่จําเป็นของ
            ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้  รายงานฉบับ  ชาวบ้านในพื้นที่  หลักการความยินยอมที่เป็นอิสระ  ล่วงหน้า
            นี้นําเสนอผลการศึกษาให้เข้าใจกระบวนการที่เกิดขึ้นของ  และได้รับข้อมูลเพียงพอ  (free  prior  and  informed
            โครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายจากมุมมองของ          consent) สิทธิการเข้าถึงอาหาร ที่อยู่อาศัย และอาชีพที่
            ประชากรชาวบ้านในท้องถิ่น    เพื่อให้รับรู้ถึงสถานการณ์ว่า   เพียงพอต่อการดํารงชีวิต การเตรียมการในการโยกย้าย
            สิทธิของชาวบ้านในพื้นที่ได้รับการคุ้มครองและเคารพ  ถิ่นฐานของชุมชนที่จะถูกขับไล่ออกจากพื้นที่ กระบวนการ
            จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับโครงการทั้งภาครัฐและภาค  ที่เกี่ยวข้องกับการชดเชย  ทั้งการคํานวณ  การเบิกจ่าย
            เอกชนในระดับใด                                   ความเพียงพอของค่าชดเชย  และการเข้าถึงกระบวนการ
                    หวังเป็นอย่างยิ่งว่า การศึกษาครั้งนี้จะได้รับความ  เยียวยาที่มีประสิทธิภาพสําหรับประชาชนผู้ได้รับผลกระ
            สนใจโดยตรงจาก รัฐบาลไทยและรัฐบาลเมียนมาร์ – ผู้เป็น  ทบจากการพัฒนาโครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย
            หุ้นส่วนสําคัญในโครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ     บทที่สามจะมุ่งประเด็นอภิปรายโดยนําหลักฐานข้อมูลที่
            ทวาย, คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติของไทย – ผู้รับ  ค้นพบมาตรวจสอบในแง่มุมด้านหลักการและกฎหมาย
            ข้อร้องเรียนจากองค์กรชุมชนท้องถิ่นในปี 2556 และองค์กร  ระหว่างประเทศ มาตรฐานต่าง ๆ ในระดับภูมิภาค ข้อกําหนด   บทนำา
            ธุรกิจภาคเอกชนต่าง ๆ ที่ได้ลงทุนในโครงการนี้ไปแล้ว รวม  และเงื่อนไขตามกฎหมายภายในประเทศของทั้งเมียนมาร์
            ถึงองค์กรทั้งภาครัฐและภาคธุรกิจที่กําลังวางแผนเข้าไป  และไทย
            ลงทุนหรือเกี่ยวข้องกับโครงการทวายในอนาคตด้วย  หวัง      สําหรับบทสรุป  ได้นําเสนอถึงข้อเสนอแนะทาง
            ว่ารายงานฉบับนี้จะได้รับความสนใจจากสมาชิกรัฐสภา  นโยบายสําหรับหน่วยงานหรือองค์กรต่าง  ๆ  ซึ่งมีบทบาท
            ของเมียนมาร์และสมาชิกสภาภูมิภาคแคว้นตะนาวศรี     ในการพัฒนาโครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายใน
            พร้อมทั้งองค์กรอื่น ๆ ที่ทํางานสนับสนุนชาวบ้านและชุมชน  อนาคต อันรวมถึง  รัฐบาลไทย  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
            ท้องถิ่นในพื้นที่นี้ และในที่อื่น ๆ ที่กําลังต่อสู้กับโครงการ  แห่งชาติของไทย  รัฐบาลเมียนมาร์  รัฐสภาของเมียนมาร์
            พัฒนาต่าง ๆ ในลักษณะเดียวกัน                     คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติของเมียนมาร์
                    บทแรกของรายงานฉบับนี้  จะแนะนําถึงข้อมูล  สหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง (เคเอ็นยู) บริษัท อิตาเลียนไทยฯ
            พื้นฐานโดยสังเขปของโครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย   และนักลงทุนที่ต้องการลงทุนโครงการในอนาคต  และ
            และสถานภาพในปัจจุบันของโครงการตามที่รับรู้ของ    ประชาคมนานาชาติ  ชาวบ้านในท้องถิ่นได้แสดงการคัดค้าน
            สาธารณชน  ต่อด้วยข้อมูลโดยสังเขปของทวายทั้งในด้าน  ที่สําคัญในหลายครั้งหลายคราวต่อแนวทางและวิธีการ
            ประชากรและวิถีการดํารงชีพในพื้นที่    บทที่สองของรายงาน  ปฏิบัติของโครงการ กิจกรรมและการแสดงออกต่าง ๆ เหล่า
            มุ่งประเด็นการวิเคราะห์ข้อค้นพบจากการเก็บข้อมูลใน  นั้นได้รวบรวมไว้ในหนังสือร้องเรียนต่อคณะกรรมการสิทธิ
            พื้นที่  โดยเริ่มด้วยระเบียบวิธีวิจัยในการเก็บข้อมูลพื้นฐาน  มนุษยชนแห่งชาติของไทย  และในลําดับเหตุการณ์สําคัญที่
            ทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพจากชุมชน  20  หมู่บ้าน  เกี่ยวข้องกับโครงการ  ซึ่งแนบท้ายอยู่ในภาคผนวกของ
            ในเขตที่ได้รับผลกระทบจากโครงการ ได้แก่ พื้นที่เขตนิคม  รายงานฉบับนี้
            อุตสาหกรรมและท่าเรือนํ้าลึก  พื้นที่ถนนเชื่อมต่อระหว่าง


                                                                                                        07
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12