Page 5 - เสียงจากชุมชน : ข้อกังวลเกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายและโครงการที่เกี่ยวข้อง
P. 5
บทสรุปสำ หรับผู้บริหาร
รายงานฉบับนี้นําเสนอการตรวจสอบโครงการเขตเศรษฐกิจ หมู่บ้านทั้งหมดที่ทําการวิจัยในครั้งนี้เป็นหมู่บ้านที่ได้
พิเศษทวาย (Dawei Special Economic Zone) ทางตอนใต้ของ รับผลกระทบโดยตรงแล้วทั้งสิ้นจากโครงการ จากข้อมูล ณ ปัจจุบัน
ประเทศเมียนมาร์ ซึ่งหากเกิดขึ้นจริง โครงการดังกล่าวจะเป็น ที่ระบุถึงแผนงานในอนาคตของโครงการ คาดการณ์ว่าชาวบ้าน
เขตนิคมอุตสาหกรรมปิโตรเคมีที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชีย จาก 20–36 หมู่บ้าน (ประมาณ 4,384–7,807 ครัวเรือน หรือ
ตะวันออกเฉียงใต้ รายงานฉบับนี้นําเสนอผลการศึกษาวิจัยทั้งใน 22,000–43,000 คน) จะได้รับผลกระทบโดยตรงจากการก่อสร้าง
เชิงปริมาณและคุณภาพ โดยมีเป้าหมายเพื่อเข้าใจถึงกระบวนการ เขตเศรษฐกิจพิเศษทวายและโครงการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น เขต
พัฒนาการของโครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย และสิทธิของ นิคมอุตสาหกรรม ท่าเรือ ถนนเชื่อมต่อ อ่างเก็บนํ้า (เขื่อน) และ
ชาวบ้าน ว่าได้รับการปกป้องและเคารพโดยหน่วยงานภาครัฐ พื้นที่รองรับชาวบ้านที่ต้องถูกอพยพโยกย้าย นอกจากนี้ เนื่องจาก
และภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินโครงการมากน้อยเพียงใด เขตเศรษฐกิจพิเศษทวายตั้งอยู่ในบริเวณที่อยู่อาศัยของประชาชน
เขตเศรษฐกิจพิเศษทวายเป็นโครงการความร่วมมือ ซึ่งห่างจากตัวเมืองทวาย – เมืองหลวงของแคว้นตะนาวศรีเพียง
ทางเศรษฐกิจระดับทวิภาคีที่เป็นหุ้นส่วนร่วมกันระหว่างรัฐบาล 20 กิโลเมตร จึงมีแนวโน้มสูงว่า ประชากรในจังหวัดทวาย ทั้งที่
ไทยและรัฐบาลเมียนมาร์ ซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อปี 2551 ต่อมาในปี 2553 อาศัยในชนบท ริมชายฝั่งทะเล และในตัวเมืองจะได้รับผลกระทบ
บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) ได้รับ ทางสิ่งแวดล้อม และผลกระทบอื่น ๆ จากนิคมอุตสาหกรรม และ
สัมปทานเพื่อดําเนินโครงการเป็นระยะเวลา 60 ปี โดยดําเนิน อุตสาหกรรมปิโตรเคมี หากโครงการยังเดินหน้าต่อไป
งานทั้งหมดผ่าน บริษัท ทวาย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด ซึ่งถือหุ้นโดย การวิจัยนี้ได้สํารวจหมู่บ้าน 20 แห่ง ที่ตั้งอยู่ในบริเวณ
บริษัท อิตาเลียนไทยฯ (75 เปอร์เซ็นต์) และบริษัท แม็กซ์ เมียนมาร์ พื้นที่ทางการสําหรับเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย (9 หมู่บ้าน) ใน
จํากัด (25 เปอร์เซ็นต์) บริษัทหุ้นส่วนท้องถิ่น แต่ต่อมาในเดือน เขตพื้นที่ถนนเชื่อมต่อ (8 หมู่บ้าน) และใน 3 หมู่บ้าน ที่ตั้งอยู่
กรกฎาคม 2555 บริษัท แม็กซ์ เมียนมาร์ ได้ถอนตัวจากการ นอกเขตเศรษฐกิจพิเศษ แต่ว่าได้รับผลกระทบโดยตรงจากโครงการ
ลงทุนใน บริษัท ทวาย ดีเวล๊อปเมนต์ อีกทั้งการแสวงหาหุ้นส่วน ซึ่งได้แก่ พื้นที่รองรับผู้อพยพ พื้นที่ท่าเรือขนาดเล็ก และพื้นที่อ่าง
ในการลงทุนก็ไม่ประสบความสําเร็จ ด้วยเหตุดังกล่าวโครงการจึง เก็บนํ้าขนาดใหญ่ (เขื่อน) คณะวิจัยท้องถิ่นได้เก็บข้อมูลจาก บทสรุปผู้บริหาร
หยุดชะงักในปัจจุบัน แบบสอบถามจากการสุ่มตัวอย่างทั้งหมด 1,583 ครัวเรือน โดย
ในเดือนพฤศจิกายน 2556 สิทธิสัมปทานของโครงการ เข้าสํารวจในทุก ๆ หนึ่งในสามครัวเรือนของแต่ละหมู่บ้าน และ
ถูกโอนให้กับบริษัทรูปแบบใหม่ คือ “นิติบุคคลเฉพาะกิจ” (Special ยังได้รับข้อมูลเพิ่มเติมจากการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ใน
Purpose Vihicle – SPV) ในรูปแบบของบริษัทร่วมทุนระหว่าง 18 หมู่บ้าน นอกจากนี้ยังมีการติดตามสัมภาษณ์เพื่อเก็บข้อมูล
รัฐบาลเมียนมาร์และรัฐบาลไทย โดยมุ่งเน้นถึงความรับผิดชอบ จากประสบการณ์ของชาวบ้านที่ถูกอพยพออกจากพื้นที่โครงการ
โดยตรงของทั้งสองประเทศต่อโครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย ข้อค้นพบหลักของการวิจัยครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่า ที่ดินเป็น
เมื่อโครงการเปิดตัวขึ้นในปี 2551 ที่ดินในบางพื้นที่ถูก ทรัพยากรสําคัญสําหรับการดํารงชีพ ของประชาชนส่วนใหญ่ใน
แผ้วถางและการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานขั้นต้นได้เริ่มดําเนิน พื้นที่ที่จะถูกผลกระทบจากโครงการ ผู้ได้รับผลกระทบส่วนใหญ่
การไปแล้ว องค์ประกอบหลักของโครงการคือ นิคมอุตสาหกรรม (71 เปอร์เซ็นต์) เห็นว่าเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลัก ในหลายกรณี
ซึ่งรวมไปถึง ท่าเรือนํ้าลึกและอู่ต่อเรือ โรงกลั่นนํ้ามันครบวงจร ชาวบ้านไม่ได้เพาะปลูกเพียงพืชเชิงเดี่ยวในที่ดินทํากิน หากแต่
โรงถลุงเหล็ก โรงงานผลิตปุ๋ยเคมี อุตสาหกรรมปิโตรเคมี โรงงาน ใช้ที่ดินอย่างหลากหลาย ซึ่งเป็นแหล่งอาหาร หรือแหล่งรายได้
แปรรูปกระดาษ โรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางและเบา และ (หรือเป็นทั้งแหล่งอาหารและรายได้) วิถีการดํารงชีพที่เกี่ยวข้อง
โรงไฟฟ้าหนึ่งโรงหรือมากกว่านั้น โครงการก่อสร้างดังกล่าวยัง กับที่ดินมิใช่เพียงแค่การเพาะปลูกพืชเท่านั้น หากแต่ยังรวมถึง
ขยายไปเกินกว่าบริเวณเขตเศรษฐกิจพิเศษ โดยมีการก่อสร้างถนน การทําปศุสัตว์ การประมง และการหาของป่า ซึ่งสร้างรายได้
เชื่อมต่อระหว่างประเทศเพื่อเชื่อมโยงเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย อย่างมีนัยสําคัญถึง 13 เปอร์เซ็นต์ของครัวเรือนทั้งหมดที่ได้รับการ
กับประเทศไทย รวมถึงการก่อสร้างท่อส่งนํ้ามันและก๊าซคู่ขนาน สํารวจ ทั้งนี้ คาดการณ์ว่า 71 เปอร์เซ็นต์ของครัวเรือนทั้งหมดจะ
กับเส้นทางถนนดังกล่าว นอกจากนี้ยังมีแผนการก่อสร้างเขื่อน ต้องสูญเสียที่ดิน – ไม่ว่าจะทั้งหมด หรือบางส่วน ให้กับโครงการ
เพื่อสร้างอ่างเก็บนํ้าขนาดใหญ่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของ – โดยในขณะนี้ ชาวบ้านหลายคนได้สูญเสียที่ดินไปแล้ว ไม่ว่า
เขตเศรษฐกิจพิเศษ ท่าเรือขนาดเล็กทางทิศใต้ เหมืองหินทางทิศ ทั้งทางตรงจากการยึดเวนคืนที่ดิน หรือทางอ้อมจากการที่ไม่
เหนือ และหมู่บ้านรองรับชาวบ้านที่ต้องถูกอพยพโยกย้ายจากพื้นที่ สามารถใช้ประโยชน์ในที่ดินได้ เนื่องจากดินถล่มและขัดขวาง
ก่อสร้างโครงการ ทางนํ้า อันเป็นผลมาจากการดําเนินงานของโครงการ
05