Page 6 - เสียงจากชุมชน : ข้อกังวลเกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายและโครงการที่เกี่ยวข้อง
P. 6

การวิจัยครั้งนี้ค้นพบความผิดพลาดอย่างร้ายแรงใน  ชดเชย การอพยพโยกย้ายและการเยียวยาฟื้นฟูที่เพียงพอ ทําให้
            กระบวนการยืดเวนคืนที่ดินและการจ่ายค่าชดเชย  ประการแรก   วิถีการดํารงชีพและความอยู่รอดของชาวบ้านผู้ได้รับผลกระทบ
            ชุมชนที่สํารวจ  ได้รับข้อมูลอย่างจํากัด  เกี่ยวกับโครงการเขต  ต้องตกอยู่ในความเสี่ยง  ซึ่งเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนด้าน
            เศรษฐกิจพิเศษทวายและการอพยพโยกย้ายชาวบ้าน  สองในสาม  มาตรฐานความเป็นอยู่อย่างพอเพียงในการดํารงชีวิต  โครงการ
            ของครัวเรือนที่สํารวจ (66 เปอร์เซ็นต์) ไม่ได้รับข้อมูลใด ๆ จาก  เขตเศรษฐกิจพิเศษทวายได้ดําเนินการโดยไม่ได้รับความยินยอม
            ทั้งรัฐบาลและบริษัท    สําหรับชาวบ้านที่ได้รับข้อมูลจากรัฐบาล  ที่เป็นอิสระ ล่วงหน้า และได้รับข้อมูลเพียงพอ  (Free Prior and
            หรือบริษัท ส่วนใหญ่ (ประมาณสามในห้าของครัวเรือน) ระบุว่า  Informed Consent – FPIC)  จากชุมชนท้องถิ่นที่ได้รับผลกระ
            ได้รับเพียงข้อมูลผลกระทบเชิงบวกและผลประโยชน์จาก  ทบ  ซึ่งเป็นการละเมิดสิทธิชนพื้นเมืองดั้งเดิม    งานวิจัยและการ
            โครงการ  มีเพียง 3 เปอร์เซ็นต์จากครัวเรือนที่สํารวจทั้งหมดที่รับ  วิเคราะห์ฉบับนี้ชี้ให้เห็นว่า  หุ้นส่วนต่าง  ๆ  ของโครงการไม่ได้
            รู้ว่า  จะมีการก่อสร้างนิคมอุตสาหกรรมนํ้ามัน  ก๊าซธรรมชาติ   ปฏิบัติตามพันธกรณีทางกฎหมาย  มาตรฐาน  และความรับผิด
            และปิโตรเคมี ในพื้นที่ละแวกใกล้เคียง ทั้งที่ในความเป็นจริงแล้ว   ชอบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งในระดับระหว่างประเทศ ภูมิภาค และ
            สิ่งเหล่านี้ถือเป็นองค์ประกอบหลักของแผนพัฒนาเขตเศรษฐกิจ  ภายในประเทศ รวมถึงมาตรฐานสากลว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐาน
            พิเศษทวาย                                        โดยไม่สมัครใจ
                    ประการที่สอง  ไม่มีการปรึกษาหารือที่มีความหมาย      เช่นเดียวกับประเทศกําลังพัฒนาอีกหลายประเทศ
            กับผู้ได้รับผลกระทบ  มีเพียง 27 เปอร์เซ็นต์ของผู้ถูกสํารวจที่ระบุ  ประเทศเมียนมาร์ยังคงขาดกฎหมายที่เพียงพอในการควบคุม
            ว่า  ได้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินงานของโครงการ    การลงทุนอุตสาหกรรมและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ  ในฐานะเพื่อน
            ชาวบ้านผู้เข้าร่วมในการสนทนากลุ่มได้อธิบายว่า การประชุมดัง  บ้านที่ดี รัฐบาลไทยจําเป็นต้องสร้างหลักประกันว่า การลงทุนจะ
            กล่าวเป็นเพียงการนําเสนอข้อมูลแบบ “ทางเดียว”  และสําหรับ  ต้องปฏิบัติตามกฎหมายภายในประเทศและกฎหมายระหว่าง
            ชาวบ้านที่เข้าร่วมในการประชุม  พบว่า  82  เปอร์เซ็นต์  ไม่ได้มี  ประเทศทั้งในเรื่องการบังคับโยกย้ายออกจากพื้นที่  สิทธิการเข้า
            ส่วนร่วมในการพูดคุยอภิปรายในวงประชุม  ส่วนใหญ่เป็นเพราะ  ถึงแหล่งอาหารและที่อยู่อาศัยที่เพียงพอ และสิทธิชนพื้นเมือง
            ว่าพวกเขาไม่เข้าใจว่าเกิดอะไรขึ้น  หรือไม่มีโอกาสได้ตั้งคําถาม  รัฐบาลไทยควรดําเนินการตรวจสอบและบังคับใช้มาตรการที่
            ในที่ประชุม  มีครัวเรือนเพียง 8 เปอร์เซ็นต์เท่านั้นที่ยินยอมให้  เหมาะสมต่อบริษัทต่าง  ๆ  ของไทยที่ดําเนินโครงการพัฒนาโดย
            รัฐบาลก่อสร้างก่อนโครงการเริ่มขึ้น               ละเมิดสิทธิมนุษยชนของชุมชน  ไม่ว่าบริษัทของไทยเหล่านั้นจะ
                    ประการที่สาม  กระบวนการจ่ายค่าชดเชยมีข้อผิด  ดําเนินงานอยู่ ณ ที่ใดก็ตาม
            พลาดร้ายแรง  การคํานวนและการจ่ายค่าชดเชยไม่ยุติธรรม ไม่     คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนของไทยและเมียนมาร์
            โปร่งใส  และไม่มีการเปิดเผยรายละเอียดการจ่ายค่าชดเชยทั้งหมด  ควรร่วมมือดําเนินการตรวจสอบอย่างเต็มรูปแบบ  ด้วยความ
            ต่อสาธารณะ  ประมาณ 15 เปอร์เซ็นต์จากครัวเรือนทั้งหมดที่ถูก  โปร่งใส มีความสมํ่าเสมอ และทันท่วงทีต่อการร้องเรียนเรื่องการ
            สํารวจให้ข้อมูลว่าได้รับค่าชดเชย  พบว่าสี่ในห้าของผู้ที่ได้รับค่า  ละเมิดสิทธิมนุษยชนทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการยึดครองที่ดิน
            ชดเชย  ยังมิได้รับค่าชดเชยครบถ้วนทั้งหมด  และยังคงรอการ  และการบังคับขับไล่ชาวบ้านออกจากที่ดิน อันเป็นผลสืบเนื่อง
            จ่ายให้ครบตามจํานวน  มีผู้ที่ได้รับค่าชดเชยเพียง 9 เปอร์เซ็นต์ที่  มาจากกิจกรรมหรือการดําเนินการของโครงการเขตเศรษฐกิจ
            ได้รับเอกสารการจ่ายค่าชดเชยอย่างเป็นทางการ  ซึ่งบ่งชี้ถึงความ  พิเศษทวายที่ดําเนินงานโดยบริษัทต่าง ๆ ทั้งในประเทศไทย และ
            เป็นไปได้สูงในการทุจริตคอร์รัปชั่น  นอกจากนี้  จํานวนเงินที่ชาว  เมียนมาร์
            บ้านได้รับมาโดยส่วนมากไม่เพียงพอต่อการดํารงชีวิตในอนาคต     ความล้มเหลวเชิงระบบในการดําเนินงานช่วงแรก
            ของครอบครัว การจัดการพื้นที่รองรับชาวบ้านที่ต้องถูกอพยพยัง  ของโครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย ได้สร้างความยากลําบาก
            ไม่เพียงพอ  เนื่องจากพบว่าชาวบ้านที่ถูกอพยพมีมาตรฐานการ  ให้กับผู้ได้รับผลกระทบ  ชาวบ้านจํานวนมากได้แสดงความรู้สึก
            ครองชีพตํ่าลงจากเดิมมาก และในบางกรณี ครอบครัวที่โยกย้าย  ลึก ๆ ถึงความไม่เป็นธรรมที่โครงการกระทํากับพวกเขา  ชาวบ้าน
            ไปแล้วกลับต้องประสบกับสภาพการณ์ที่ยากลําบากยิ่ง  กล่าวว่าพวกเขาไม่ได้ต่อต้านการพัฒนา  แต่ต้องการการพัฒนา
                    ผู้สนับสนุนและหุ้นส่วนในโครงการนี้ โดยเฉพาะรัฐบาล  ที่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้คนและสิ่งแวดล้อม  รัฐบาลและหน่วยงาน
            เมียนมาร์และรัฐบาลไทย  มีพันธกรณีทางกฎหมายที่ต้องเคารพ  ต่าง  ๆ  ที่เกี่ยวข้องกับโครงการควรคํานึงถึงข้อกังวลชาวบ้านอย่าง
            และปกป้องสิทธิมนุษยชนของชุมชนและบุคคลผู้ได้รับผลกระ  จริงจัง  และดําเนินการเพื่อนําไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน  ด้วย
            ทบจากโครงการ  ผู้ที่รับผิดชอบในโครงการยังคงไม่สามารถ  การยกระดับความมั่นคงในการดํารงชีพของชุมชนท้องถิ่นและ
            พิจารณาหรือให้ชุมชนที่ได้รับผลกระทบได้เข้าไปมีส่วนร่วมใน  ความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม
            กระบวนการตัดสินใจและการพัฒนา    การปิดกั้นไม่ให้ชาวบ้าน
            เข้าถึงพื้นที่ทํากินของตนและที่ดินอื่น  ๆ  โดยมิได้จัดการเรื่องค่า


          06
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11