Page 41 - เสียงจากชุมชน : ข้อกังวลเกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายและโครงการที่เกี่ยวข้อง
P. 41
ได้ แต่ถ้าต้องไปลำาบาก เราก็จะไม่ย้าย” – หญิง เขาอยากจะทำา มันเหมือนกับการนำาปฏิบัติการทำาลาย
ชาวสวน หมู่บ้านเว็ตชอง ล้างเข้ามาในพื้นที่นี้”
• “เราไม่อยากจะไปหยุดยั้งพวกเขาหรอก เนื่องจากมัน
เป็นเขตเศรษฐกิจของรัฐ เราจะยอมรับมันได้หาก ในที่อื่น ๆ ผู้เข้าร่วมในการสนทนากลุ่มได้กล่าว
บริษัทช่วยชาวบ้านให้อยู่รอดได้ด้วยตัวเองเมื่อไปอยู่ ว่า ความกลัวทําให้เขาต้องจําใจยอมรับค่าชดเชย เช่น
ข้างนอกแล้ว และหากพวกเขายึดตามกฎหมายเขต
เศรษฐกิจพิเศษที่เขียนไว้” – ชายสูงวัย ชาวประมง “นาย [ขอสงวนนาม] ได้ลงชื่อรับค่าชดเชย 150
และชาวนารับจ้าง หมู่บ้านมูดู ล้านจั๊ต (ประมาณ 4,500,000 บาท) แต่ว่าในเวลาที่
• “สำาหรับผมแล้ว ผมไม่คิดที่จะยอมรับเงินค่าชดเชยที่ เขารับเงินจริง ๆ เขาได้เพียง 75 ล้านจั๊ต (ประมาณ
ให้มาแม้แต่น้อย มีเพียงชาวบ้านหนึ่งในสามเท่านั้นที่ 2,250,000 บาท) เขาต้องรับเงินไปด้วยความหวาด
อยู่รอดได้จากเงินค่าชดเชยเท่านั้น ชาวบ้านส่วนที่ กลัว เนื่องจากคนพวกนั้นบอกเขาว่า ไม่สนใจหรอกว่า
เหลืออยู่ไม่ได้หรอก หากว่าสามารถชดเชยด้วยที่ดิน เขาจะรับเงินนั่นหรือไม่” – ชาวสวนและชาวนาหญิง
และที่นาสำาหรับเพาะปลูกได้ ผมคิดว่าเราสามารถย้าย หมู่บ้านปาราดัต
ออกไปได้ทันทีเลย หากเป็นเช่นนั้นได้ก็ดี” – ชายสูงวัย “เราไม่อยากจะรับเงินค่าชดเชย แต่ที่เรารับไปก็
ชาวนาและสวน หมู่บ้านมูดู เพราะเราสูญเสียทรัพย์สินไปแล้ว มันไม่มีการประเมิน
ราคาเลย ส่วนราคาประเมินที่ชาวบ้านส่งไปให้ ทาง
การข่มขู่คุกคามจากเจ้าหน้าที่ บริษัทก็ยังมาต่อรองอีก พวกเขาเอารถแทร็กเตอร์มา
เป็นที่น่ากังวลว่า การหลอกลวงและการข่มขู่คุกคาม เป็น รื้อทำาลายที่ดินทำากินโดยไม่บอกกล่าว มารื้อถอนทำาลาย
กลวิธีที่ทางเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นใช้เพื่อให้ชาวบ้านยินยอมต่อ ในวันอาทิตย์ตอนที่ไม่มีใครอยู่ และก่อนที่จะมีการเริ่ม บทที่ 2
โครงการ รายงานจากการสนทนากลุ่มครั้งหนึ่งระบุว่า สำารวจนับจำานวนต้นหมาก พวกเขาก็โกงโดยการโค่น
นักการเมืองท้องถิ่นของพรรคสหภาพเอกภาพและการ ต้นหมากทิ้ง แม้ว่าเราจะไม่อยากรับเงินชดเชยนั่น แต่
พัฒนา (USDP) พยายามปลุกปั่นให้ชาวบ้านต้องย้าย ต้องจำาใจรับเพราะความกลัว” – ชาวบ้านผู้ได้รับ
ออกจากพื้นที่ โดยยืนยันว่าโครงการนี้เป็นสิ่งที่ “ต้อง”ทํา ผลกระทบ หมู่บ้านมิตตา
เพื่อพัฒนาประเทศ ข้อความหลักฐานด้านล่างได้รับการ
จดบันทึกไว้ ดังนี้ ผู้เข้าร่วมการสนทนากลุ่มคนอื่น ๆ ยังได้พูดถึง
การไล่รื้อที่และรื้อถอนทําลายที่ดินที่เกิดขึ้นโดยไม่มีการ
“มีนายหน้าที่ดินจากกลุ่มผู้มีอิทธิพลที่ทาง แจ้งล่วงหน้า หญิงชาวนา หมู่บ้านเว็ตชอง กล่าวว่า
รัฐบาลส่งมาอยู่ในพื้นที่ [นักการเมือง (ขอสงวนนาม)]
จากพรรคจานต์ปูต์ เป็นนายหน้าคนสำาคัญ พวกเขา “ฉันไม่รู้หรอกว่าเป็นหน่วยงานไหนที่ทำา แต่บุคคลที่มา
เข้ามาที่นั่น และบอกกับชาวบ้านด้วยวิธีการโกงและ รื้อถอนไร่นาของเรา ลักลอบทำาตอนที่ไม่มีใครอยู่ที่นั่น”
ข่มขู่ชาวบ้านว่า โครงการนี้เป็นโครงการของรัฐ ดังนั้น
เราจึงควรจะต้องรับ [ค่าชดเชย] เมื่อพวกเขาให้ หรือ ที่หมู่บ้านกาโลนท่า ซึ่งเป็นสถานที่ก่อสร้างเขื่อน
ไม่เช่นนั้นเราก็จะไม่ได้อะไรมากในอนาคต ... พวกชาว เพื่อสร้างอ่างเก็บนํ้าสําหรับโครงการ ผู้เข้าร่วมการสนทนา
บ้านตกใจกันมากก็เลยขายที่ดินไป” กลุ่มที่นั่นให้ข้อมูลว่า คณะทํางานสนับสนุนโครงการของ
“เรารู้สึกว่าต่างชาติเข้ามาและมากดขี่ข่มเหงเรา รัฐบาลได้เริ่มรณรงค์โฆษณาชวนเชื่อ และจัดเตรียมเอกสาร
รัฐบาลกลางก็ไม่สนใจในเรื่องนี้ ไม่มีการปรึกษาหารือ ข้อมูลประชาสัมพันธ์โครงการ พวกเขายังเตรียมร่างข้อ
กันเลย ตั้งแต่ที่พวกเขาเข้ามาและทำาอะไรก็ได้ที่พวก ตกลงที่มีเนื้อหาสําคัญว่าชาวบ้านยินยอมให้สร้างเขื่อน
41