Page 43 - เสียงจากชุมชน : ข้อกังวลเกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายและโครงการที่เกี่ยวข้อง
P. 43
และยินยอมอพยพโยกย้าย โดยพยายามให้ชาวบ้านลง เรื่อง ประเด็นดังกล่าวนั้นรวมถึงข้อเท็จจริงที่ว่าไม่มีการ
นามในข้อตกลง แต่ชาวบ้านปฏิเสธที่จะลงชื่อในเอกสาร ออกหนังสือเชิญอย่างเป็นทางการ ชาวบ้านที่มาจาก
ดังกล่าว ต่อมาเจ้าหน้าที่รัฐท้องถิ่นได้เรียกตัวผู้อาวุโสใน หมู่บ้านต่าง ๆ ในบางตําบลเท่านั้นที่ได้รับเชิญมาร่วม
หมู่บ้านไปพบที่สํานักงานของโครงการทวาย เพื่อโน้มน้าว ประชุม นั่นจึงเป็นที่น่าสงสัยว่าเป็นความพยายามที่จะ
ให้ลงนามยินยอมในเอกสารข้อตกลง ชาวบ้านก็ปฎิเสธ สร้างสถานการณ์เพื่อให้ชุมชนแตกแยก เวลาในการประชุม
ไปอีกครั้ง ต่อมาเจ้าหน้าที่รัฐได้เข้ามาที่หมู่บ้านอีกครั้ง ก็สั้นเกินไป อีกทั้งวาระและวัตถุประสงค์ของการประชุม
เพื่อขอให้ชาวบ้านลงนามยินยอม ชาวบ้านก็ปฏิเสธอีกเป็น ก็มิได้แจ้งให้ชาวบ้านทราบล่วงหน้า ด้วยเหตุนี้ชาวบ้านที่
ครั้งที่สาม ท้ายที่สุด ส.ส. พรรครัฐบาล เจ้าหน้าที่รัฐท้อง ได้รับผลกระทบจากหมู่บ้านตะบิวชองจึงปฏิเสธที่จะเข้า
ถิ่น และเจ้าหน้าที่บริษัท อิตาเลียนไทยฯ เข้ามาที่หมู่บ้าน ร่วมในเวทีปรึกษาหารือที่ไร้ความหมายเช่นนี้
พร้อมกับตํารวจ (“บอดี้การ์ด”) ซึ่งเป็นความพยายามครั้ง ในที่อื่น ๆ ก็มีการพบเห็นว่าบริษัทได้ใช้วิธีการ
ที่สี่ เพื่อให้ชาวบ้านยินยอมลงนามในเอกสาร แต่ชาวบ้านก็ สร้างภาพลักษณ์เพื่อการรณรงค์ประชาสัมพันธ์กับชาว
ยังคงนิ่งเงียบ และถือแผ่นป้ายรณรงค์ด้วยข้อความที่ บ้าน ซึ่งมักจะสื่อเป็นนัยอย่างผิด ๆ ว่าเป็นการมีส่วนร่วม
ชัดเจนว่า “ไม่เอาเขื่อน” (No Dam) และ “ไม่โยกย้าย” ของชุมชนในโครงการ ตัวอย่างเช่น ในหมู่บ้านกาโลนท่า
(No Relocation) อย่างไรก็ดี แรงกดดันและการข่มขู่ ชาวบ้านที่ได้รับผลกระทบได้ให้ข้อมูลว่า เจ้าหน้าที่ของ
คุกคามดังกล่าวก่อให้เกิดความไม่ไว้วางใจอย่างมากต่อ บริษัท อิตาเลียนไทยฯ ได้ถ่ายรูปพระสงฆ์ขณะกําลังพูด
เจ้าหน้าที่รัฐ ทั้งในระดับท้องถิ่น และระดับชาติ คุยกับเจ้าหน้าที่โครงการ และนํารูปภาพนั้นไปใช้ในสื่อ
ประชาสัมพันธ์สําหรับโครงการ ซึ่งภายหลังนําไปจัดวาง
“พวกเขา [รัฐบาลและบริษัท] ไม่ได้สนใจชาวบ้าน ไว้ที่ศูนย์เยี่ยมชมของบริษัท โดยไม่ได้ขออนุญาต ชาว
หรอก คนพวกนี้ไม่เคยซื่อสัตย์จริงใจกับเรามาตั้งแต่ต้น” บ้านหมู่บ้านกาโลนท่าได้ตอบโต้ต่อเหตุการณ์ดังกล่าว บทที่ 2
– ชาวสวนสูงวัย หมู่บ้านกาโลนท่า โดยการแสดงสัญลักษณ์ร่วมที่ชัดเจน ว่าไม่พอใจต่อกิจกรรม
การดําเนินงานต่าง ๆ ของโครงการในการประชุมชุมชน
ครั้งต่อ ๆ มา เพื่อเป็นมาตรการไม่ให้บริษัท อิตาเลียน
การปรึกษาหารือที่ไร้ความหมาย ไทยฯ นํารูปภาพของพวกเขาไปใช้อย่างไม่เหมาะสมอีก 16
และการสร้างภาพ
ในเดือนพฤษภาคม 2556 นักวิชาการจากสถาบันวิจัย
สภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จัดเวที
ปรึกษาหารือกับชาวบ้านที่หมู่บ้านตะบิวชอง ในฐานะเป็น
ส่วนหนึ่งของกระบวนการการประเมินผลกระทบทาง
สิ่งแวดล้อมของโครงการถนนเชื่อมต่อ ความพยายามจัด
เวทีประชุมปรึกษาหารือนี้เกิดขึ้น 3 ปีหลังจากโครงการได้
เริ่มก่อสร้างถนน ซึ่งส่งผลให้เกิดการไล่รื้อที่ดินไปก่อนหน้า
นี้แล้ว ชาวบ้านที่ได้รับผลกระทบจากหมู่บ้านตะบิวชอง
ได้ร้องเรียนเกี่ยวกับการปรึกษาหารือที่ล่าช้า และแสดง
ความไม่พอใจต่อกระบวนการดังกล่าวเพิ่มเติมอีกหลาย
16 ดูใน Paung Ku, LIFT report 2014 (กรณีศึกษาที่กาโลนท่า)
43