Page 108 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 108

92


                                         พัฒนาเอกชนด้านสิทธิมนุษยชน และองค์กรอื่นๆ ในการที่จะจัดล าดับ
                                                                                         221
                                         ความส าคัญก่อนหลังในการด าเนินงานต่างๆ ของหน่วยงาน
                                      3) เพื่อการบรรลุเปูาหมายความรับผิดชอบทางกฎหมายที่ก าหนดไว้กับ
                                                                                         222
                                         คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติของสหราชอาณาจักร

                              4.2.1.2  กระบวนการและวิธีการจัดท าตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนของ Human  Rights

                                      Measurement Framework (HRMF)

                                      1) ขั้นตอนแรก ได้มีการมอบหมายให้ผู้เชี่ยวชาญกลุ่มเล็กเฉพาะด าเนินการโดย
               เป็นสิ่งที่เกี่ยวกับการปรับจากกรอบคิดและวิธีการด าเนินงานของส านักงานข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่ง
               สหประชาชาติ (Office  of  the  High  Commissioner  for  Human  Rights) มาปรับให้เข้ากับบริบทของ

               สหราชอาณาจักร โดยเชื่อว่าวิธีการตามกรอบคิดนี้จะท าให้เกิดผลส าเร็จสูงและมุ่งสู่ผลการศึกษาตามกรอบ
               และผลการด าเนินงานที่ดีที่สุดของประชาคมระหว่างประเทศ ขณะเดียวกันก็ได้ประเด็นสะท้อนปัญหาเฉพาะ
               ของสหราชอาณาจักรที่มีระบอบกฎหมาย และรัฐบาลท้องถิ่นที่แยกจากกัน รวมถึงมีคณะกรรมการสิทธิ

                                                                            223
               มนุษยชนด าเนินงานแยกจากกันของแคว้นอิงแลนด์ เวลส์ และสก๊อตแลนต์

                                         พื้นฐานและหลักการทางกฎหมายอันเป็นที่มาของกรอบการวัดสิทธิมนุษยชน

               มาจากบทบัญญัติของมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติสิทธิมนุษยชน พ.ศ. 2541 แห่งสหราชอาณาจักร ร่วมกับ
               ข้อกังวลด้านสิทธิมนุษยชนที่ส าคัญทั้งในแคว้นอิงแลนด์ เวลส์ และสก๊อตแลนด์ จากนั้นได้พิจารณากับ
               อนุสัญญาสิทธิมนุษยชนแห่งยุโรป (European  Convention  on  Human  Rights  and  Fundamental

               Freedoms)  ซึ่งสหราชอาณาจักรเป็นภาคี โดยที่เห็นว่าในอนุสัญญาสิทธิมนุษยชนแห่งยุโรปนั้นมีความ
               ครอบคลุมเพียงสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง จึงได้ขยายกรอบความสนใจไปสู่กฎบัตรทางสังคมแห่งยุโรป
                                                                   224
               (European Social Charter) ซึ่งนับว่ามีความละเอียดลออมาก

                                         สหราชอาณาจักรได้ขยายกรอบแนวคิดตัวชี้วัดของส านักงานข้าหลวงใหญ่
               สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ และด้วยความตระหนักถึงความส าคัญที่หน่วยงานรัฐทั้งหลายจะต้องเคารพ

               สิทธิมนุษยชนจึงขยายออกไปถึงการตั้งเกณฑ์การด าเนินงาน ปฏิบัติราชการ ให้มีความสอดคล้องกับหลักการ
               ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนด้วย และขยายไปถึงการคุ้มครองบุคคลที่ด้อยโอกาสเป็นพิเศษซึ่งได้รับความ
                                                                                            225
               สนใจเป็นพิเศษในสหราชอาณาจักร เช่น บุคคลที่ต้องอยู่ในความดูแลเป็นพิเศษซึ่งต้องอยู่กับบ้าน  เป็นต้น

                                      2) ขั้นตอนที่สอง เมื่อได้ร่างเบื้องต้นที่มีตัวชี้วัดจ านวนมากแล้ว กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
               จะน าไปหารือกับผู้เชี่ยวชาญและผู้เกี่ยวข้องเฉพาะด้านนั้นๆ เพื่อให้เกิดการเพิ่มเติมทางความคิด โดยใน



               221    ibid. p. 8.
               222
                     ibid.
               223
                    Ibid. p. 9.
               224
                    Ibid. p. 9-11.
               225    Ibid.
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113