Page 74 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยสาเหตุการละเมิดสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมของเจ้าหน้าที่ตำรวจ
P. 74

63


                      วิธีพิจารณาความอาญา รวมทั้งใช้เครื่องมือพนักงานสอบสวนโดยไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชน เช่น

                      หมายเรียก หมายจับ หมายค้น การจับ การค้น การควบคุม การฝากขัง การปล่อยชั่วคราว เป็นต้น

                                       2.1 ไม่ปรากฏว่าผู้ใดเป็นผู้กระท าความผิด
                                       2.2 รู้ตัวผู้กระท าความผิด แต่เรียกหรือจับตัวยังไม่ได้

                                       2.3 รู้ตัวผู้กระท าความผิด และผู้นั้นถูกควบคุมหรือขังอยู่ หรือปล่อยชั่วคราว

                      หรือเชื่อว่าคงได้ตัวมาเมื่อออกหมายเรียก

                                    3)  ความเห็นทางคดีและส่งส านวนการสอบสวนไปยังพนักงานอัยการ

                                  2.  ชั้นพนักงานอัยการ
                                    4)  พิจารณาส านวนการสอบสวนและเมื่อเห็นว่า มีหลักฐานไม่เพียงพอหรือไม่

                      ชัดเจนให้สั่งให้พนักงานสอบสวน สอบสวนต่อไป สอบสวนเพิ่มเติม หรือส่งพยานคนใดมาให้

                      ซักถาม

                                    5)  ความเห็นในการสั่งคดีแล้วฟ้องผู้ต้องหาต่อศาลหรือสั่งไม่ฟ้อง หรืองดการ

                      สอบสวนส่งไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
                                  3.  ชั้นศาล

                                    พิจารณาและพิพากษา ในคดีนั้น ๆ


                      2.6  การศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนกับการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ต ารวจ

                                  จากการทบทวนงานวิจัยเบื้องต้นพบว่า ไม่ปรากฏว่ามีการศึกษาถึงสาเหตุของการ
                      ละเมิดสิทธิมนุษยชนของเจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือเจ้าหน้าที่ต ารวจอย่างเป็นรูปธรรมแต่อย่างไร

                      จากการศึกษางานวิจัยที่ผ่านมามักเป็นการศึกษาทัศนคติ ความคิดเห็น และหลักการปฏิบัติตาม

                      หลักสิทธิมนุษยชน ดังรายละเอียดต่อไปนี้

                                  พ.ต.ท.โชติ  ช่วยชู ,2541 ศึกษาการปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานต่อผุ้ต้อง

                      หา:กรณีศึกษาในเขตอ าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อศึกษาถึง ทัศนคติและพฤติกรรมของ
                      เจ้าหน้าที่ต ารวจในการปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานของผู้ต้องหา และปัจจัยที่เป็นเหตุ

                      ท าให้ผู้ต้องหาถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน โดยใช้วิธีการศึกษาด้วยแบบสอบถาม และการ

                      สัมภาษณ์ จากกลุ่มตัวอย่างผู้ต้องหา และเจ้าหน้าที่ต ารวจ พบว่า ในส่วนของเจ้าหน้าที่ต ารวจนั้น

                      ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับทัศนคติในเรื่องสิทธิมนุษยชนของเจ้าหน้าที่ต ารวจได้แก่ การศึกษา และ

                      การเข้าร่วมกิจกรรมกับชุมชน ส่วนปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติต่อผู้ต้องหาได้แก่ กิจกรรม
                      ทางสังคม ขณะที่ในส่วนของผู้ต้องหา ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับทัศนคติในเรื่องสิทธิมนุษยชน และ

                      การได้รับการปฏิบัติจากเจ้าหน้าที่ต ารวจได้แก่ ศาสนา เชื้อชาติ ระดับการศึกษา
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79