Page 78 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยสาเหตุการละเมิดสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมของเจ้าหน้าที่ตำรวจ
P. 78
67
3.1.2 แนวทางการศึกษาวิจัย
การละเมิดสิทธิมนุษยชน ของเจ้าหน้าที่ต ารวจในกระบวนการยุติธรรม
ต้องการทราบถึงสภาพปัญหา สาเหตุ และเงื่อนไขปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน
ของเจ้าหน้าที่ต ารวจ เพื่อเป็นการพัฒนาการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของประชาชน และเกิดการ
มีส่วนร่วม และ เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะอย่างยิ่ง หน่วยงานต ารวจต ารวจเห็น
ถึงความส าคัญ และเข้ามามีส่วนร่วมอย่างจริงจัง โดยการด าเนินการดังนี้
3.1.2.1 การศึกษาสภาพปัญหา รูปแบบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของ
เจ้าหน้าที่ต ารวจ
3.1.2.2 การสังเคราะห์ และวิเคราะห์เงื่อนไขปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
3.1.2.3 การน าเสนอผลการศึกษา รายละเอียด ดังนี้
1) คณะผู้วิจัย และการร่วมกันก าหนดแนวทางในการศึกษา
องค์ความรู้ แหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน ของเจ้าหน้าที่ต ารวจ และการเก็บ
รวบรวมสถิติการละเมิดสิทธิมนุษยชนของเจ้าหน้าที่ต ารวจ โดยการศึกษาดังต่อไปนี้
(1) เก็บรวบรวมข้อมูลสถิติ และขอข้อมูลเรื่องร้องเรียนการ
ละเมิดสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมจากส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
มาท าการสังเคราะห์และวิเคราะห์หาสภาพปัญหา และรูปแบบของการละเมิดสิทธิมนุษยชน และ
ศึกษาวิจัยเอกสาร กฏหมายระเบียบ ตลอดจน ศึกษาในรูปแบบ”กรณีศึกษา” และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
(2) การสัมภาษณ์ระดับลึก คณะผู้วิจัยจะได้สรุปประเด็นจาก
การศึกษาข้างต้น และน าเสนอให้ ผู้ทรงคุณวุฒิ (ที่ปรึกษา) เพื่อขอความคิดเห็น และขอข้อเสนอแนะ
เพื่อปรับปรุง แนวทางการสัมภาษณ์ โดยจะได้ท าหนังสือขอความร่วมมือในการสัมภาษณ์จาก
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ถึงกลุ่มเป้าหมาย หัวหน้าโครงการมอบหมายหน้าที่ให้นักวิจัย
ติดต่อประสานงานกับกลุ่มเป้าหมายในแต่ละพื้นที่ เพื่อนัดหมายวัน เวลา และสถานที่การสัมภาษณ์
ผู้ที่เกี่ยวข้องได้แก่ จ านวน 10 คน ประกอบด้วย
ก. ผู้ทรงคุณวุฒิ ในกระบวนการยุติธรรม ผู้พิพากษ าศาล
ฎีกา อัยการ นายกสภาทนายความ จ านวน 3 คน
ข. ผู้ทรงคุณวุฒิ ในองค์กรอิสระ (กสม.)มูลนิธิเพื่อนหญิง
จ านวน 1 คน
ค. ผู้บริหารงานส านักงานต ารวจแห่งชาติ ผู้ช่วยผู้บัญชาการ
ส านักงานต ารวจแห่งชาติ (ฝ่ายกฎหมายและสอบสวน) จ านวน 1 คน