Page 24 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยสาเหตุการละเมิดสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมของเจ้าหน้าที่ตำรวจ
P. 24

13


                      2.3 หลักประกัน การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา


                                  2.3.1 มาตรฐานสากลในการประกันสิทธิมนุษยชน

                                       การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนได้พัฒนาไปสู่ “ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน”

                      (The Universal Declaration of Human Right) โดยได้รับการรับรองจากที่ประชุมสมัชชาองค์การ
                      สหประชาชาติ ในวันที่  10  ธันวาคม พ .ศ.2491  เพื่อเป็นมาตรฐานร่วมกันส าหรับประชาชาติ

                      ทั้งหลาย ในจุดหมายที่ว่า มนุษย์สิทธิเท่าเทียมกัน โดยที่การไม่น าพา และการเหยียดหยามต่อสิทธิ

                      มนุษยชนยังผลให้มีการกระท าอันป่าเถื่อน ซึ่งเป็นการละเมิด มโนธรรมของมนุษยชาติอย่างร้ายแรง

                      นั้นกระท าไม่ได้ โดยที่เป็นการจ าเป็นอย่างยิ่งที่สิทธิมนุษยชนได้รับความคุ้มครอง โดยหลักบังคับ

                      ของกฎหมาย ซึ่งรายละเอียดของปฏิญญาสากล ว่าด้วยสิทธิมนุษยชนมีดังต่อไปนี้


                                       ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน


                                       ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันแห่งความส าเร็จ

                      ส าหรับบรรดาประชากรและประ ชาชาติทั้งหลาย เพื่อจุดหมายปลายทางที่ว่า เอกชนทุกคนและ

                      องค์การสังคมทุกองค์การ โดยการร าลึกถึงปฏิญญานี้เป็นเนื่องนิจ จะบากบั่นพยายามด้วยการสอน
                      และศึกษา ในอันที่ส่งเสริมการเคารพสิทธิและอิสรภาพเหล่านี้ และด้วยมาตรการอันก้าวหน้าทั้งใน

                      และระหว่างประเทศ ในอันที่จะส่งเสริมการเคารพสิทธิและอิสรภาพเหล่านี้ และด้วยมาตรการอัน

                      ก้าวหน้าทั้งในและระหว่างประเทศ ในอันที่จะให้มีการยอมรับนับถือ  และการปฏิบัติตามโดยสากล

                      และอย่างเป็นผลจริงจัง ทั้งในบรรดาประชาชนของรัฐสมาชิกด้วยกันเอง  และในบรรดาประชาชน

                      ของดินแดนที่อยู่ใต้อ านาจของรัฐนั้น ๆ

                                       ข้อ 1   มนุษย์ทั้งหลายเกิดมามีอิสระและเสมอภาคกันในเกียรติศักดิ์และสิทธิ

                      ต่างมีเหตุผลและมโนธรรม และควรปฏิบัติต่อกันด้วยเจตนารมณ์แห่งภารดรภาพ

                                       ข้อ 2  (1)    ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพบรรดาที่ก าหนดไว้ในปฏิญญานี้
                      โดยปราศจากความแตกต่างไม่ว่าชนิดใด ๆ ดังเช่น เชื้อชาติ ผิว เพศ ภาษา ศาสนา การคิดเห็น

                      ทางการเมืองหรือทางอื่น เผ่าพันธุ์แห่งชาติ หรือสังคม ทรัพย์สิน ก าเนิด หรือสถานะอื่น ๆ

                                              (2)    อนึ่งจะไม่มีความแตกต่างใด ๆ ตามมูลฐานแห่งสถานะทาง

                      การเมือง ทางการศาล หรือทางการระหว่างประเทศของประเทศหรือดินแดนของบุคคลสังกัด ไม่ว่า
                      ดินแดนนี้เป็นเอกราช อยู่ในความพิทักษ์ไม่ได้ปกครองตนเอง หรืออยู่ภายใต้การจ ากัดอธิปไตยใด ๆ

                      ทั้งสิ้น
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29