Page 124 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบรายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่และสิ่งแวดล้อม ในอนุคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ.2544-2550)
P. 124

ข้อ  ๔  มาตรการการแก้ไขปัญหา
                                                                ั่
                                 คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม มีข้อเสนอต่อรัฐบาล และกระทรวง
                   ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมดังนี้
                                 ๔.๑ ให้รัฐบาล จัดการให้หน่วยงานที่รับผิดชอบด าเนินการแก้ไขเยียวยาให้แก่ผู้ได้รับความเดือดร้อนตาม
                   ความเห็นข้อ ๓.๒ ข้อ ๓.๓ และข้อ ๓.๔ ที่เหมาะสมและเป็นธรรม ทั้งนี้ ให้เริ่มด าเนินการภายในระยะเวลา ๓๐ วัน นับแต่วันที่
                   ได้รับรายงานฉบับนี้
                                 ๔.๒ ให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แต่งตั้งคณะบุคคลประกอบด้วย ผู้แทนองค์การ
                   เอกชนด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ และผู้แทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติหรือ
                   ด้านสุขภาพ ท าหน้าที่แทนองค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ความเห็นประกอบต่อรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบต่อ
                   คุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน ทั้งนี้ ให้เริ่มด าเนินการภายในระยะเวลา ๔๕ วัน นับแต่วันที่ได้รับ
                   รายงานฉบับนี้
                                                                            ั
                                      ๔.๓ ให้บริษัท ท่าอากาศยานไทย จ ากัด (มหาชน) ด าเนินการแก้ไขปญหาให้กับผู้อยู่อาศัยในบริเวณที่ได้รับ
                   ผลกระทบจากสนามบินสุวรรณภูมิ อย่างเป็นรูปธรรมที่เหมาะสมและเป็นธรรม ทั้งนี้ ให้เริ่มด าเนินการในระยะเวลา ๓๐ วัน
                   นับตั้งแต่วันที่ได้รับรายงานฉบับนี้

                   ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
                                                ในกรณีที่รัฐบาลมีนโยบายที่จะขยายสนามบินเป็นโครงการระยะที่ 2  ซึ่งต้องมีผลกระทบต่อคุณภาพ
                   สิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน ให้บริษัทท่าอากาศยานไทย จ ากัด (มหาชน) มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่เป็นจริง
                   ครบถ้วน และรอบด้าน ให้แก่สาธารณชนได้รับทราบก่อนการด าเนินการใดๆที่อาจส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและประชาชน
                   และเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมตั้งแต่ต้น








                   ตารางที่  4.11 ตัวอย่างบางส่วนของรายงานที่มีการยุติการตรวจสอบ
                   เรื่อง : สิทธิในที่ดิน กรณีขอออกโฉนดที่ดินบริเวณปากคลองปากเกาะ บ้านน ้าเค็ม ต าบลบางม่วง อ าเภอตะกั่วป่า
                   จังหวัดพังงา
                   ความเป็นมา : ผู้ร้องกับพวกรวม ๖ คน เป็นผู้ครอบครองที่ดินบริเวณปากคลองปากเกาะ จ านวน ๖ แปลง ในพื้นที่บ้านน ้าเค็ม
                                       ่
                   ต าบลบางม่วง อ าเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา โดยได้เข้าไปท าประโยชน์ปลูกบ้านพักอาศัยและท าสวนมะพร้าว ซึ่งเดิมที่ดิน
                   บริเวณนี้ไม่มีเอกสารสิทธิแต่เนื่องจากมีการเข้าไปจับจอง ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๔๒ จึงได้มีการออกเอกสารสิทธิให้กับบิดา
                   ของผู้ร้อง แต่เมื่อเกิดเหตุการณ์ธรณีพิบัติภัยสึนามิ บิดาของผู้ร้องได้เสียชีวิตจากเหตุการณ์ นั้น และเอกสารดังกล่าวก็ได้สูญ
                   หายไปด้วย
                                 ผู้ร้องกับพวกจึงขอให้ส านักงานที่ดินออกเอกสารสิทธิฉบับใหม่ให้แทนใบเดิมที่สูญหายไป แต่เจ้าหน้าที่
                                                                                                ่
                   กลับแจ้งว่าไม่สามารถออกเอกสารให้ผู้ร้องกับพวกได้ เนื่องจากการตรวจสอบพบว่าที่ดินดังกล่าวน่าจะอยู่ในพื้นที่ปาชายเลน
                   เมื่อผู้ร้องกับพวกอุทธรณ์ค าสั่งดังกล่าว ก็ได้รับการยืนยันเช่นเดิม
                   ความเห็น :
                   ข้อ  ๓  ความเห็นของคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝั่ง และแร่
                                 คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง และแร่ พิจารณาแล้วเห็นว่า จากสภาพพื้นที่ที่ได้ตรวจสอบ
                                                               ั่
                                                                    ่
                   เปรียบเทียบกับภาพถ่ายทางอากาศ พบว่า เป็นบริเวณน ้าท่วมขัง และเป็นปาชายเลน จึงไม่ใช่พื้นที่ที่จะออกเอกสารสิทธิได้ จึง
                   เห็นควรให้ยุติเรื่อง





                                                             109
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129