Page 119 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบรายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่และสิ่งแวดล้อม ในอนุคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ.2544-2550)
P. 119

4.2.2 มาตรการแก้ไขปัญหา  จากการพิจารณารายงานของคณะอนุกรรมการ พบว่า มาตรการที่

                   คณะอนุกรรมการฯมีต่อกรณีร้องเรียนทั้งหมดสามารถจ าแนกมาตรการออกเป็นหมวดได้เพียง 5 กลุ่มใหญ่ๆ ซึ่งท า
                   ให้เห็นว่า แท้จริงแล้วความเห็นต่อกรณีร้องเรียนนั้นสามารถด าเนินการได้เพียงไม่กี่ลักษณะที่จะให้ความคุ้มครองต่อ
                   สิทธิและเสรีภาพของประชาชนได้ มาตรการดังกล่าว ได้แก่
                          - ให้ยุติโครงการหรือยกเลิกโครงการ เนื่องจากคณะอนุกรรมการฯเห็นว่า โครงการที่ถูกร้องเรียนเป็น
                   โครงการที่กระทบต่อสิทธิของประชาชน บางโครงการเป็นการด าเนินการที่ไม่เป็นไปตามขั้นตอนของกฎหมาย บาง

                   โครงการไม่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนและส่วนรวมแต่อย่างใด คณะอนุกรรมฯการจึงมีมติเสนอให้ยุติโครงการ
                   ส าหรับโครงการที่อยู่ระหว่างด าเนินการ หรือมีมติให้ยกเลิกโครงการส าหรับกรณีที่ด าเนินโครงการไปแล้ว (ดู
                   ตัวอย่างในตาราง 4.7 ประกอบ)
                          - ให้ก าหนดค่าชดเชยอย่างเป็นธรรม เนื่องจากบางโครงการกระทบต่อสิทธิของประชาชนที่ต้องได้รับ

                   การคุ้มครองด้วยการก าหนดจ่ายเงินค่าชดเชย คณะอนุกรรมการฯจึงมีมติให้หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
                   ด าเนินการจ่ายเงินค่าชดเชยให้แก่ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบ ทั้งที่ในกรณีที่จะมีการพัฒนาโครงการ และในกรณีที่
                   โครงการที่พัฒนาไปแล้ว (ดูตัวอย่างในตาราง 4.8 ประกอบ)
                                                                                                  ั
                          - ให้แก้ไขปัญหา/บรรเทาความเดือดร้อนแต่ละกรณี มาตรการในรูปแบบนี้จะเป็นการแก้ปญหาเฉพาะ
                                                          ั
                   รายกรณีที่มีความแตกต่างกันไปตามเนื้อหาของปญหา โดยมีการก าหนดมาตรการให้หน่วยงานที่ต้องรับผิดชอบ
                                  ั
                   ด าเนินการแก้ไขปญหา ซึ่งจะมีการก าหนดระยะเวลาให้ปฏิบัตินับแต่วันที่ได้รับรายงาน ซึ่งจะมีระยะเวลาตั้งแต่
                   ในทันที ระยะเวลา 15 วัน ระยะเวลา 30 วัน ระยะเวลา 60 วัน (ดูตัวอย่างในตาราง 4.9 ประกอบ)
                          - ข้อเสนอในเชิงนโยบาย โดยส่วนใหญ่ในรายงานคณะอนุกรรมการฯมิได้ก าหนดมาตรการในเชิง
                                                                                    ั
                   นโยบายมากนัก แต่ก็พบอยู่บ้างในการก าหนดมาตรการเสนอนโยบายเพื่อแก้ไขปญหาในพื้นที่ และในระดับการ
                   แก้ไขกฎหมาย โดยการน าเสนอต่อรัฐบาลแต่จะเป็นการน าเสนอในเชิงรูปธรรมที่สามารถด าเนินการได้เลย (ดูตาราง

                   ที่ 4.10 ประกอบ)
                          - ยุติการตรวจสอบ ในการยุติการตรวจสอบของคณะอนุกรรมการฯ นั้นสามารถพบว่ามีสาเหตุเพียง 4
                   กรณีหลักๆ กล่าวคือ
                                                                                     ้
                          1)    การยุติเนื่องจากเนื่องจากผู้ร้องได้ด าเนินการน ากรณีร้องเรียนไปฟองร้องคดีเพื่อให้หน่วยงาน
                   ด าเนินการหรือรับผิดชอบตามกฎหมาย ซึ่งคณะอนุกรรมการฯต้องยุติการตรวจสอบ ตามพระราชบัญญัติ
                   คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 22 โดยมากจะเป็นประเด็นที่ดินและการเปลี่ยนแปลงสภาพ

                   แหล่งน ้า
                          2)  การยุติเนื่องจากโครงการหรือการกระท าที่ถูกร้องเรียนได้ยกเลิกหรือยุติลงก่อนคณะอนุกรรมการฯจะ
                   พิจารณาท ารายงาน รวมถึงการที่ไม่มีความชัดเจนในการพัฒนาโครงการต่อไปหรือไม่ โดยเฉพาะประเด็นน ้าและ
                        ั่
                   ชายฝง
                                                    ั
                                                                     ั
                          3)  การยุติเนื่องจากมีการแก้ไขปญหาและหรือสภาพปญหาได้คลี่คลายจนเป็นที่พอใจแก่ผู้ร้องเรียนก่อน
                   คณะอนุกรรมการฯจะพิจารณาท ารายงาน โดยเฉพาะประเด็นเหมืองหิน เหมืองแร่ และมลพิษจากโรงงาน
                   อุตสาหกรรมและพลังงาน รวมถึงโครงการการจัดการน ้าบางโครงการ
                          4)  ยุติเนื่องจากคณะอนุกรรมการฯไม่อาจหาข้อมูลที่ไม่เพียงพอต่อการพิจารณา เพราะไม่อาจติดต่อผู้
                   ร้องเรียนได้และหรือเมื่อลงพื้นที่ก็ไม่อาจได้ข้อมูลมาเพื่อด าเนินการพิจารณาต่อ (ดูตัวอย่างในตารางที่ 4.11)
                          นอกจากนี้อาจมีการยุติเนื่องจากผู้ร้องเรียนได้ขอถอนค าร้องเรียน ซึ่งคณะอนุกรรมกการฯก็จะพิจารณา

                   เป็นรายกรณีไป หากเห็นว่ากรณีใดจ าเป็นต้องตรวจสอบต่อไปเนื่องจากโครงการหรือการกระท าดังกล่าวเป็นไป
                   ในทางละเมิดต่อสิทธิของบุคคลอื่น ก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จ าเป็นต้อง




                                                             104
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124