Page 126 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบรายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่และสิ่งแวดล้อม ในอนุคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ.2544-2550)
P. 126

-       มีบางกรณีมีการตอบกลับในลักษณะของการชี้แจงถึงเหตุผล ข้อจ ากัด ที่ไม่อาจ
                   ด าเนินการตามมาตรการได้

                                 -       ส าหรับมาตรการในการก าหนดให้แก้ไขเชิงนโยบาย ไม่พบว่าการตอบรับและแก้ไข
                     ั
                   ปญหาแต่อย่างใด
                          ถึงแม้ว่า ยังไม่อาจตรวจสอบได้ถึงการปฏิบัติตามมาตรการที่ก าหนดก็ตาม แต่เมื่อตรวจสอบกับผู้ร้องจะ
                   พบว่า ได้มีการน าเอารายงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติไปใช้ประกอบในการด าเนินคดีโดยผู้
                   ร้องเรียน เพื่อเป็นข้อมูลประกอบในการพิจารณาคดี แต่ไม่มีกระบวนการติดตามว่า รายงานดังกล่าวมีผลต่อการ

                   พิจารณาคดีหรือไม่เพียงไร

                   4.4 การประเมินผลการคุ้มครองสิทธิจากการตรวจสอบ


                          จากการติดตามสามารถประเมินผลในภาพรวมได้ว่าการตรวจสอบของคณะอนุกรรมการเป็นการกระตุ้นให้
                                                                   ั
                   หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถสั่งการให้ผู้ประกอบการได้แก้ไขปญหาและบรรเทาความเดือดร้อนได้ โดยเฉพาะอย่าง
                   ยิ่งในกรณีที่โครงการหรือกิจกรรมนั้นเป็นกิจกรรมที่ส่งผลกระทบในระดับบุคคลและชุมชนขนาดเล็ก ส่วนในกรณีที่
                   เป็นโครงการขนาดใหญ่มักมีผลในการให้ชะลอโครงการออกไป โดยประเมินผลออกได้เป็น 4 ระดับ ได้แก่

                          4.4.1 สามารถคุ้มครองสิทธิได้อย่างเต็มที่ ด้วยการมีส่วนให้โครงการที่เป็นกรณียุติลง หรือมีการ

                   แก้ไขปัญหาจนเป็นที่พอใจแก่ผู้ร้องเรียน เช่น กรณีเหมืองแร่ตะกั่วคลิตี้-เค็มโก้ จังหวัดกาญจนบุรี กรณีระเบิด
                   ย่อยหินในเขาผาแดง-รังกาย อ าเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก กรณีเหมืองแร่แคลไซต์ เขาบุ่งกะเซอร์ จังหวัด
                   อุทัยธานี กรณีเหมืองหินปูนเพื่ออุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ เขาถ ้าเอราวัณ จังหวัดลพบุรี กรณีนโยบายการแบ่งเขต
                                                          ๊
                   ประมงจังหวัดและโครงการธนาคารอาหารทะเล(ซีฟูดแบงค์) กรณีระเบิดหินของบริษัท ทีพีไอ โพลีน จ ากัด จังหวัด
                   สระบุรี กรณีโครงการก่อสร้างอ่างเก็บน ้าคลองลาไม จังหวัดนครศรีธรรมราช กรณีโครงการก่อสร้างอ่างเก็บน ้าล าพะ
                   ยา จังหวัดยะลา  กรณีโครงการก่อสร้างฝายร่องน ้าทุ่งวารี จังหวัดร้อยเอ็ด  กรณีสร้างฝายกั้นน ้าปิดคลองสว่าน
                   จังหวัดปทุมธานี กรณีปิดกั้นทางสัญจรสาธารณะโดยโรงแรมอัยปุระ เกาะช้าง จังหวัดตราด กรณีโครงการสร้างเขื่อน
                                                                        ่
                   ริมน ้าน่าน จังหวัดพิษณุโลก กรณีก่อสร้างท่าเทียบเรือขนทรายพื้นที่ปาโมก จังหวัดอ่างทอง กรณีคุ้มครองซากหอย
                   ขมดึกด าบรรพ์เหมืองแม่เมาะ จังหวัดล าปาง กรณีเหมืองหินเขาชะอางกลางทุ่ง จังหวัดระยอง


                          4.4.2 สามารถคุ้มครองสิทธิได้ในขณะตรวจสอบ โดยมีผลให้เกิดการชะลอโครงการ และหรือไม่
                   การอนุญาตให้ก่อสร้างโครงการ นับแต่มีกระบวนการตรวจสอบจนถึงปัจจุบัน แต่ก็มีแนวโน้มว่า โครงการ
                   นั้นยังรอที่จะการด าเนินการอีกต่อไป เช่น กรณีเหมืองแร่ทรายแก้ว จังหวัดตราด กรณีการรื้อ 3 ฝาย เพื่อสร้าง

                   ประตูระบายน ้า จังหวัดเชียงใหม่ โครงการแก่นราชภูมิ กรณีโครงการก่อสร้างอ่างเก็บน ้าแม่ขาน จังหวัดเชียงใหม่

                          4.4.3 สามารถคุ้มครองสิทธิได้เพียงบางส่วน โดยมีผลให้เกิดการแก้ไขปัญหา บรรเทาความ
                   เดือดร้อนของชุมชน ในระดับหนึ่ง  และส่งผลให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้เข้าไปตรวจสอบและปฏิบัติตาม
                                                                                           ั
                   อ านาจหน้าที่ของตน ได้แก่ กรณีผลกระทบจากเหมืองแร่ยิบซัม จังหวัดสุราษฎร์ธานี กรณีปญหาที่ดินบ้านแหลม
                    ้
                                              ่
                   ปอม จังหวัดพังงา กรณีการบุกรุกปาพรุคันธุลี จังหวัดสุราษฎร์ธานี







                                                             111
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131