Page 127 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบรายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่และสิ่งแวดล้อม ในอนุคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ.2544-2550)
P. 127

4.4.4 ไม่สามารถคุ้มครองสิทธิได้ แต่ส่งเสริมให้ประชาชนได้เข้าใจถึงสิทธิและใช้สิทธิของตน มีผล
                   เป็นการกระตุ้นให้ชุมชนได้รับรู้ข้อมูลข่าวสาร และจัดตั้งเครือข่ายเพื่อคุ้มครองสิทธิมนุษยชนมากยิ่งขึ้น

                   เกิดความเข้มแข็งในชุมชนที่จะตระหนักถึงสิทธิของตน ได้แก่ กรณีการขุดลอกล าพะเนียง จังหวัดหนองบัวล าภู
                   (คุ้มครองสิทธิได้ในช่วงการตรวจสอบเท่านั้น)
                   4.5 ข้อสังเกตบางประการในกระบวนการท างานตรวจสอบการละเมิดสิทธิ


                          4.5.1 ข้อสังเกตการใช้กฎหมายเพื่อบังคับใช้

                                                                               ั่
                          จากการศึกษาพบว่า คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ได้พยายามใช้
                   กฎหมายที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับกรณีต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นกฎหมายที่ให้อ านาจและก าหนดหน้าที่ให้หน่วยงานรัฐ
                   ด าเนินการตามกฎหมาย เช่น พระราชบัญญัติชลประทานหลวง พระราชบัญญัติแร่ เป็นต้น กฎหมายที่ก าหนดให้มี
                                                                                    1
                   การคุ้มครองสิ่งแวดล้อม เช่น พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม  อันเป็นการพยายามใช้หลัก
                                                              ั
                   กฎหมายที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพ ดังนั้น จะเห็นได้ว่าปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนในฐานทรัพยากรส่วนใหญ่ที่
                   เกิดขึ้น เกิดจากการละเลยการไม่ใช้อ านาจหน้าที่ของหน่วยงานรัฐในการด าเนินการให้อนุญาตแก่ผู้ประกอบการก่อน
                   ริเริ่มโครงการ การละเลยหรือไม่ปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยงานที่ไม่เข้าควบคุมก ากับดูแลในระหว่างการประกอบกิจการ
                                                              2
                   การละเลยไม่ยอมปฏิบัติตามกฎหมายของผู้ประกอบการ
                          ตารางที่ 4.12  แสดงบทบัญญัติทางกฎหมายที่ปรากฏในรายงานการตรวจสอบเปรียบเทียบตามประเด็น
                   ฐานทรัพยากรพบว่ามักมีการอ้างถึงรัฐธรรมนูญในหมวดสิทธิเสรีภาพของชนชาวไทย และหมวดการปกครองส่วน
                   ท้องถิ่น และการอ้างถึงกติการะหว่างประเทศเกี่ยวกับสิทธิพลเมืองและสิทธิทางเศรษฐกิจเพื่อคุ้มครองวิถีชีวิตอันเป็น

                   ปกติสุขของผู้ร้อง มีข้อสังเกตในการอ้างถึงอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก เมื่อต้องการคุ้มครองสิทธิจากกรณีผลกระทบ
                   มลพิษจากกิจกรรมเหมืองแร่ และการจัดการสิ่งแวดล้อม ส่วนการใช้พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
                                                                                                      ้
                   แห่งชาติจะอ้างถึงความหมายของสิทธิมนุษยชน อ านาจในการตรวจสอบ โดยอ้างถึงมาตราที่เกี่ยวกับการฟองร้อง
                                                     ั่
                   ด าเนินคดีในประเด็นฐานทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่
                          กฎหมายที่เกี่ยวข้องในการตรวจสอบ จะปรากฏการอ้างถึงพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ

                   สิ่งแวดล้อมในทุกประเด็นฐานทรัพยากร  แต่ในฐานทรัพยากรแร่ จะมีการอ้างถึงกฎหมายต่างๆมากที่สุด

                          4.5.2 ข้อสังเกตในวิธีการปฏิบัติหน้าที่ของคณะอนุกรรมการ
                                                                                       ั่
                          จากการศึกษารวบรวมข้อมูลพบว่า คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ได้มี
                   การน าเอาข้อมูลข้อเท็จจริงตามเอกสารจากผู้ร้องเรียน หน่วยงานที่ถูกร้องเรียน หน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกรณี
                   ร้องเรียน และเอกสารประกอบทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับกรณีร้องเรียน การลงพื้นที่ตรวจสอบข้อเท็จจริง การเชิญให้
                   บุคคลที่เกี่ยวข้องมาให้ข้อมูลเพิ่มเติมด้วยวาจา มาพิจารณาประกอบกับองค์ความรู้ของคณะอนุกรรมการในทาง
                                                                                                  ั
                   กฎหมายและทางหลักสิทธิมนุษยชน ท าให้การพิจารณาให้ความเห็นและก าหนดมาตรการการแก้ไขปญหาเป็นไป
                                                                                  ั่
                   โดยสอดคล้องและเป็นธรรม อีกทั้ง คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม เป็นบุคคล
                                                                                      ั่
                   ที่มาจากหลากหลายอาชีพ และมีองค์ความรู้เฉพาะทางในประเด็นทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ท าให้
                   เห็นถึงศักยภาพของการท างานของคณะอนุกรรมการที่ชัดเจนและเข้มแข็ง





                   1
                     โปรดดูภาคผนวก 1 หมวดกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
                   2
                     โปรดดูภาคผนวก 2 หมวดประเด็นปัญหา ความเห็น มาตรการ ผลตอบกลับ



                                                             112
   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132